ผลต่างระหว่างรุ่นของ "คดีวอเตอร์เกต"

เนื้อหาที่ลบ เนื้อหาที่เพิ่ม
Taweetham (คุย | ส่วนร่วม)
ไม่มีความย่อการแก้ไข
Applezapotis (คุย | ส่วนร่วม)
ไม่มีความย่อการแก้ไข
บรรทัด 1:
{{ต้องการอ้างอิง}}
[[ไฟล์:WatergateFromAir.JPG|thumb|right|230px|กลุ่มสำนักงานวอเตอร์เกต จุดกำเนิดของเรื่องอื้อฉาว]]
[[ไฟล์:Nixon leaving whitehouse.jpg|thumb|right|230px|ประธานาธิบดีนิกสันขณะเดินทางออกจากทำเนียบขาว ไม่นานก่อนการลาออกมีผลบังคับใช้ ณ วันที่ 9 สิงหาคม ค.ศ. 1974]]
'''คดีวอเตอร์เกต''' ({{lang-en|Watergate scandal}}) คือเหตุอื้อฉาวทางการเมืองระหว่างช่วงต้นคริสตทศวรรษที่ 1970 ใน[[สหรัฐอเมริกา]] เป็นเหตุการณ์สืบเนื่องมาจากเหตุการณ์ลักลอบโจรกรรมสำนักงานใหญ่ของ[[พรรคเดโมแครต (สหรัฐอเมริกา)|พรรคเดโมแครต]] ณ อาคารวอเตอร์เกตคอมเพลกซ์ในกรุง[[วอชิงตัน ดี.ซี.]] เมื่อเดือน[[มิถุนายน]] [[ค.ศ. 1972]] ในขณะที่คณะทำงานของประธานาธิบดี[[ริชาร์ด นิกสัน]] พยายามปกปิดหลักฐานถึงการข้องเกี่ยวในเหตุโจรกรรมดังกล่าว จนในที่สุดเรื่องอื้อฉาวนี้นำไปสู่การลาออกของประธานาธิบดีริชาร์ด นิกสัน เมื่อวันที่ [[9 สิงหาคม]] [[ค.ศ. 1974]] ซึ่งเป็นการลาออกครั้งแรกและครั้งเดียวของประธานาธิบดีในประวัติศาสตร์อเมริกัน เหตุการณ์นี้ยังนำไปสู่การฟ้องร้อง, การไต่สวน, การลงโทษ และการจำคุกบุคคลที่มีส่วนเกี่ยวข้องทั้ง 43 คน รวมไปถึงคณะทำงานระดับสูงของรัฐบาลนิกสันอีกหลายสิบคน
 
เหตุอื้อฉาวเริ่มต้นขึ้นด้วยการจับกุมชายห้าคนในคดีลักลอบโจรกรรมข้อมูลในที่ทำการใหญ่พรรคเดโมแครต ณ อาคารวอเตอร์เกตคอมเพลกซ์ เมื่อวันที่ 17 มิถุนายน ค.ศ. 1972 โดย[[สำนักงานสอบสวนกลางแห่งสหรัฐอเมริกา]] (เอฟบีไอ) เชื่อมโยงเส้นทางการเงินของคนร้ายทั้งห้าคนจนสาวไปถึงกองทุนหนึ่ง ซึ่งเป็นกลุ่มระดมทุนสำหรับการลงชิงตำแหน่งประธานาธิบดีสมัยที่สองของนิกสัน<ref ขณะที่หลักฐานทั้งหมดพุ่งชี้ไปยังคณะทำงานของประธานาธิบดีname="congressional รวมไปถึงพนักงานเบิกความฟ้องในคณะทำงานสืบสวนคดีวอเตอร์เกตซึ่งตั้งโดยวุฒิสภาquarterly ในเดือนกรกฎาคมvol ค.ศ. 1972 คณะสอบสวนเปิดเผยว่าภายในห้องทำงานของประธานาธิบดีนอกสันมีระบบบันทึกเสียงอยู่ และได้บันทึกการสนทนาต่างๆ เอาไว้มากมาย ใจความจากเทปบันทึกเสียงเหล่านั้นชี้ให้เห็นว่าประธานาธิบดีนิกสันเคยพยายามที่จะปกปิดถึงการมีส่วนรู้เห็นในการโจรกรรมข้อมูล ณ ที่ทำการพรรคเดโมแครต หลังจากมีการต่อสู้ฟ้องร้องคดีความจำนวนมากมายหลายรอบในชั้นศาล ศาลฎีกาสูงสุดแห่งสหรัฐอเมริกามีคำตัดสินให้ประธานาธิบดีต้องส่งมอบเทปบันทึกเสียงทั้งหมดแก่พนักงานสืบสวนของรัฐ นิกสันจึงต้องจำยอมส่งมอบเทปตามคำตัดสิน1">
{{cite book
| title=Watergate: chronology of a crisis
| volume=1
| last=Dickinson
| first=William B.
| oclc=20974031
| isbn=0-87187-059-2
| url=http://worldcat.org/oclc/20974031
| coauthors=Mercer Cross, Barry Polsky
| year=1973| pages=8 133 140 180 188
| publisher=Congressional Quarterly Inc.
| location=Washington D. C.}}
This book is volume one of a two-volume set. Both volumes share the same ISBN and Library of Congress call number, E859 .C62 1973
</ref><ref name="smoking gun tape" /> ขณะที่หลักฐานทั้งหมดพุ่งชี้ไปยังคณะทำงานของประธานาธิบดี รวมไปถึงพนักงานเบิกความฟ้องในคณะทำงานสืบสวนคดีวอเตอร์เกตซึ่งตั้งโดยวุฒิสภา ในเดือนกรกฎาคม ค.ศ. 1973 คณะสอบสวนเปิดเผยว่าภายในห้องทำงานของประธานาธิบดีนอกสันมีระบบบันทึกเสียงอยู่ และได้บันทึกการสนทนาต่างๆ เอาไว้มากมาย<ref>
{{cite book
| author=narrative by R.W. Apple, jr. ; chronology by Linda Amster ; general ed.: Gerald Gold.
| title=The Watergate hearings: break-in and cover-up; proceedings
| publisher=Viking Press
| location=New York
| year=1973
| isbn=0-670-75152-9
| oclc=
| url=http://www.worldcat.org/oclc/865966&referer=brief_results}}
</ref><ref>
{{cite book
| last = Nixon
| first = Richard
| title = The White House Transcripts
| publisher=Viking Press
| location = New York
| year = 1974
| isbn = 0-670-76324-1
| oclc = 1095702
| url = http://www.worldcat.org/oclc/1095702
}}
</ref> ใจความจากเทปบันทึกเสียงเหล่านั้นชี้ให้เห็นว่าประธานาธิบดีนิกสันเคยพยายามที่จะปกปิดถึงการมีส่วนรู้เห็นในการโจรกรรมข้อมูล ณ ที่ทำการพรรคเดโมแครต<ref name="smoking gun tape" /><ref>The evidence was quite simple: the voice of the President on June 23, 1972 directed the [[Central Intelligence Agency]] (CIA) to halt an FBI investigation which would be politically embarrassing to his re-election; this direction was an obstruction of justice.
{{cite book |author=White, Theodore Harold
|title=Breach of Faith: The Fall of Richard Nixon
|publisher=Atheneum Publishers
|location=New York
|year=1975
|page=7
|isbn=0-689-10658-0
|oclc=
| url=http://www.worldcat.org/oclc/1370091&referer=brief_results}}</ref> หลังจากมีการต่อสู้ฟ้องร้องคดีความจำนวนมากมายหลายรอบในชั้นศาล ศาลฎีกาสูงสุดแห่งสหรัฐอเมริกามีคำตัดสินให้ประธานาธิบดีต้องส่งมอบเทปบันทึกเสียงทั้งหมดแก่พนักงานสืบสวนของรัฐ นิกสันจึงต้องจำยอมส่งมอบเทปตามคำตัดสิน
 
หลังจากเผชิญแรงกดดันจากสังคม, การฟ้องร้องใน[[สภาผู้แทนราษฎรสหรัฐอเมริกา|สภาผู้แทนราษฎร]] และมีความเป็นไปได้สูงว่า[[วุฒิสภาสหรัฐอเมริกา|วุฒิสภา]]จะมีมติลงโทษประธานาธิบดี นิกสันจึงลาออกจากการเป็น[[ประธานาธิบดีแห่งสหรัฐอเมริกา]] ณ วันที่ 9 สิงหาคม ค.ศ. 1974<ref>White ซึ่งประธานาธิบดีคนต่อมา(1975), Breach of Faith, p.&nbsp;29. "And the most punishing blow of all was to come in late afternoon when the President received, in his Oval Office, the Congressional leaders of his party -– [[เจอรัลด์Barry ฟอร์ดGoldwater]], [[Hugh Scott]] and [[John Jacob Rhodes|John Rhodes]]. The accounts of all three coincide… Goldwater averred that there were not more than fifteen votes left in his support in the Senate…."</ref><ref name="isbn0-394-40853-5">"Soon [[Alexander Haig]] and [[James St. Clair]] learned of the existence of this tape and they were convinced that it would guarantee Nixon's impeachment in the House of Representatives and conviction in the ได้ทำการนิรโทษกรรมให้แก่นิกสันSenate."
{{cite book
| author=Dash, Samuel
| title = Chief Counsel: Inside the Ervin Committee – The Untold Story of Watergate
| publisher=Random House
| location = New York
| year = 1976
| pages = 259–260
| isbn = 0-394-40853-5
| oclc =
| url = http://www.worldcat.org/oclc/2388043
}}</ref> ซึ่งประธานาธิบดีคนต่อมา [[เจอรัลด์ ฟอร์ด]] ได้ทำการนิรโทษกรรมให้แก่นิกสัน
 
คดีดังกล่าวนี้ถูกสอบสวนโดยผลมาจากการที่เดอะวอลชิงตันโพสต์ หนังสือพิมพ์ชื่อดังของอเมริกา คอยผลักดันและติดตามข่าวสารโดยตลอด ทำให้สำนักงานสืบสวนสอบสวนกลางหรือเอฟบีไอ จำเป็นต้องทำการสืบสวนและผลักดันตนเองให้พ้นจากอำนาจของนิกสัน
 
== อ้างอิง ==
{{ต้องการรายการอ้างอิง}}
 
{{โครงประวัติศาสตร์}}