ผลต่างระหว่างรุ่นของ "จักรพรรดิปิออตร์ที่ 3 แห่งรัสเซีย"

เนื้อหาที่ลบ เนื้อหาที่เพิ่ม
Xqbot (คุย | ส่วนร่วม)
r2.7.3) (โรบอต แก้ไข: uk:Петро III
OctraBot (คุย | ส่วนร่วม)
cleanup
บรรทัด 8:
| วันสวรรคต = [[17 กรกฎาคม]] [[ค.ศ. 1762]]
| พระอิสริยยศ = สมเด็จพระจักรพรรดิแห่ง[[จักรวรรดิรัสเซีย]]
| พระราชบิดา = [[ดยุคดยุก ชาร์ล เฟรดเดอริค]]
| พระราชมารดา = [[เจ้าหญิงแอนนา เปรโตว่า แห่งรัสเซีย]]
| พระอัครมเหสี = [[สมเด็จพระจักรพรรดินีนาถแคทเธอรีนที่ 2 แห่งรัสเซีย|สมเด็จพระจักรพรรดินีแคทเธอรีนที่ 2]]
บรรทัด 26:
 
== พระราชประวัติ ==
คาร์ล ปีเตอร์ อูลริช เป็นบุตรชายของ[[ดยุคดยุก ชาร์ล เฟรดเดอริค แห่งโฮลส์เทนต์-ก็อตทรอป]]กับ[[เจ้าหญิงแอนนา เปโตรว่าแห่งรัสเซีย]]พระธิดาใน[[พระเจ้าปีเตอร์มหาราช|สมเด็จพระเจ้าซาร์ปีเตอร์มหาราช]] ปีเตอร์ทรงมีเชื้อสายรัสเซีย-สวีเดน เนื่องจากบิดาของพระองค์เป็นพระปนัดดาใน[[กษัตริย์ชาร์ลที่ 12 แห่งสวีเดน]] เมื่อมีพระชนม์มายุ 14 พรรษา ก็ประกาศตนเป็น[[กษัตริย์แห่งฟินแลนด์]] ท่ามกลางสงครามรัสเซีย-สวีเดน
เมื่อ[[สมเด็จพระจักรพรรดินีนาถเอลิซาเบธแห่งรัสเซีย|สมเด็จพระจักรพรรดินีเอลิซาเบธ]]ทรงขึ้นครองราชย์ก็ทรงถูกนำตัวมายัง[[เซนต์ปีเตอร์เบิร์ก]]เพื่อขึ้นเป็นมกุฎราชกุมารแห่ง[[รัสเซีย]] แต่พระองค์ทรงชิงชัง[[รัสเซีย]]มาก แต่กลับนิยมชมชอบ[[ปรัสเซีย]]ซึ่งเป็นศัตรูในขณะนั้น อีกทั้งยังทรงเกรียจคร้าน เอาแต่พระทัย ไม่ใส่ใจ และไม่มีพระอัจฉริยะภาพ [[สมเด็จพระจักรพรรดินีนาถเอลิซาเบธแห่งรัสเซีย|พระนางเจ้าเอลิซาเบธ]]จึงไม่ต้องการให้พระองค์ขึ้นเป็นพระเจ้าซาร์แห่งจักรวรรดิ [[สมเด็จพระจักรพรรดินีนาถเอลิซาเบธแห่งรัสเซีย|พระนางเจ้าเอลิซาเบธ]]จึงทรงเร่งรัดการอภิเษกสมรส เพื่อให้ปีเตอร์ผลิตองค์รัชทายาทองค์ใหม่ ให้พระนางและพระนางก็ทรงเลือก[[สมเด็จพระจักรพรรดินีนาถแคทเธอรีนที่ 2 แห่งรัสเซีย|โซฟี เฟรดเดอริค ออกัสเต้]] หญิงสาวจาก[[ปรัสเซีย]]ซึ่งมีเชื้อสาย[[เยอรมนี]]มาเป็นพระคู่หมั้น เมื่อโซฟีทำการเปลี่ยน[[นิกายโปรเตสแตนต์]]เป็น[[นิกายรัสเซียออร์โธด็อกซ์]]แล้วก็มีนามใหม่ว่า เอคาเตรีน่า อเล็กซีเยว่า แคทเธอรีน เมื่อถึงวันอภิเษกสมรสที่พระราชวังโอแรนเนี่ยนบวม ใน[[เซนต์ปีเตอร์เบิร์ก]] แม้ทั้งคู่ก็ทรงไม่ค่อยมีความสุขนัก แต่ก็มีโอรส 1 พระองค์นามว่า พอลล์ ซึ่งต่อมาก็คือ [[สมเด็จพระจักรพรรดิพอลล์ที่ 1 แห่งรัสเซีย|สมเด็จพระจักรพรรดิพอลล์ที่ 1]] นั่นเอง