ผลต่างระหว่างรุ่นของ "วาซีลี คันดินสกี"

เนื้อหาที่ลบ เนื้อหาที่เพิ่ม
Tinuviel (คุย | ส่วนร่วม)
ไม่มีความย่อการแก้ไข
Tinuviel (คุย | ส่วนร่วม)
ไม่มีความย่อการแก้ไข
บรรทัด 19:
'''วาสสิลี แคนดินสกี''' ({{lang-en|Wassily Kandinsky}}; {{lang-ru|Васи́лий Васи́льевич Канди́нский}}) คือจิตรกรชาวเยอรมัน เชื้อชาติ[[รัสเซีย]]ผู้ให้กำเนิดศิลปะด้านพลังของอารมณ์ในแนวนามธรรม เกิดที่กรุงมอสโก ประเทศรัสเชีย เมื่อปี ค.ศ. 1866 ในครอบครัวที่ร่ำรวย จบการศึกษาจากมหาวิทยาลัยมอสโก ด้านกฏหมาย เศรษฐกิจและการเมือง เมื่ออายุ 27 ปี หลังจากนั้นได้เป็นอาจารย์ของมหาวิยาลัยในคณะนิติศาสตร์
 
เมื่ออายุ 29 ปี Kandinsky แคนดินสกีได้เห็นศิลปะภาพวาดแนว impressionist ของจิตรกรฝรั่งเศสเป็นครั้งแรกเค้า เขารู้สึกดีกับงานศิลปะชิ้นนั้นมาก หลังจากที่เค้าได้รับชมงานศิลปะของจิตกรฝรั่งเศษจิตรกรฝรั่งเศสก็ทำให้เค้าเขาไม่ทำงานของทางมหาวิทยาลัย และเค้ายังได้ลาออกจากการเป็นอาจารย์ของมหาวิยลัยมหาวิทยาลัยเพื่อมาเป็นจิตกรจิตรกรวาดภาพ จนกระทั้งเค้ากระทั่งอายุได้ 31 ปีเค้าได้ถึงทางจึงเดินทางไปยังMunichมิวนิก ในประเทศเยอรมนี เพื่อศึกษาเทคนิคการวาดภาพกับ [[Anton Azbe]] และ [[Franz von Stuck]] ในช่วงเวลานั้นจิตรกรชาวเยอรมัน กำลังลุ่มหลงในงานศิลปะแนว [[Art Nouveau]] (นวศิลป์) เป็นงานศิลปะที่ใช้ลายเส้นเป็นดอกไม้เค้าเองก็ ทำให้เขาได้ศึกษาศิลปะแบบ Art Nouveau มาพอประมาณเหมือนกัน
 
ในช่วงอายุ 37-42 ปี แคนดินสกี้สกีเดินทางไปเนเธอร์แลนด์ อิตาลี ตูนิเชียแล้วเค้ายัง เขาได้นำผลงานออกแสดงที่ Salon d’ Automne ในกรุงปารีส เมื่อเค้าเดินทางกลับมาเค้าเขาได้จัดตั้งสมาคม Neue Kunstlervereingung (นวศิลป์) ซึ่งมีสมาชิกทั้งชาวรัสเซีย และชาวเยอรมัน ในช่วงสงครามโลกครั้งที่1 แคนดินสกี้เดินทางกลับบ้านเกิดที่รัสเชียและเค้าเองก็ได้คิดค้นศิลปะแบบใหม่ ที่เป็นรูปแบบนามธรรมจึงเริ่มออกแบบหลักสูตรศิลปะสมัยใหม่ให้แก่สถาบันการสอนวัฒนธรรมศิลป์ หลักสูตรนี้เน้นการแสดงออกที่เกี่ยวข้องกับความนึกคิด แต่ความคิดแนวนี้ถูกต่อต้านโดยศิลปินอื่น ๆ ที่มีความเห็นว่าศิลปะต้องมีประโยชน์ ในรูปแบบที่เป็นรูปธรรมเท่านั้น Kandinsky จึงอพยพออกจากรัสเซีย เพื่อกลับมาเป็นอาจารย์ประจำที่ Bauhaus ในเยอรมนี
 
ในช่วง[[สงครามโลกครั้งที่ 1]] แคนดินสกีเดินทางกลับบ้านเกิดที่รัสเชียและคิดค้นศิลปะแบบใหม่ที่เป็นรูปแบบนามธรรม จึงเริ่มออกแบบหลักสูตรศิลปะสมัยใหม่ให้แก่สถาบันการสอนวัฒนธรรมศิลป์ หลักสูตรนี้เน้นการแสดงออกที่เกี่ยวข้องกับความนึกคิด แต่ความคิดแนวนี้ถูกต่อต้านโดยศิลปินอื่น ๆ ที่มีความเห็นว่าศิลปะต้องมีประโยชน์ ในรูปแบบที่เป็นรูปธรรมเท่านั้น แคนดินสกีจึงอพยพออกจากรัสเซีย เพื่อกลับมาเป็นอาจารย์ประจำที่ Bauhaus ใน[[เยอรมนี]]
ในปี 1924 Kandinsky วัย 58 ปี กับ Klee ชาวสวิส Jawlensky ชาวรัสเซีย และ Feininger ชาวอเมริกัน ได้รวมตัวกันเป็นสมาคมโดยใช้ชื่อว่า Blaue Vier และได้แปลงสัญชาติเป็นเยอรมัน
 
ในปี 1924 Kandinsky แคนดินสกีวัย 58 ปี กับ Klee ชาวสวิส Jawlensky ชาวรัสเซีย และ Feininger ชาวอเมริกัน ได้รวมตัวกันเป็นสมาคมโดยใช้ชื่อว่า Blaue Vier และได้แปลงสัญชาติเป็นเยอรมัน
จากนั้น Kandinsky ก็ได้ทำงานที่สถาบันศิลปะนี้เพื่อผลิตสถาปนิกและศิลปินให้ประเทศเยอรมนี โดยจัดการสอนที่ไม่มีการกำหนดกฎเกณฑ์ใด ๆ ในการวาดให้แก่นิสิตเลย และส่งเสริมให้นิสิตเข้าใจความต้องการด้านศิลปะของสังคม รวมถึงให้รู้จักพัฒนาจินตนาการเชิงสร้างสรรค์ด้วย แคนดินสกี้ได้เขียนหนังสือ Punkt und Linie zu Flache ซึ่งเป็นตำราศิลปะ เมื่ออายุ 69 ปี
 
จากนั้น Kandinsky แคนดินสกีก็ได้ทำงานที่สถาบันศิลปะนี้เพื่อผลิตสถาปนิกและศิลปินให้ประเทศเยอรมนี โดยจัดการสอนที่ไม่มีการกำหนดกฎเกณฑ์ใด ๆ ในการวาดให้แก่นิสิตเลย และส่งเสริมให้นิสิตเข้าใจความต้องการด้านศิลปะของสังคม รวมถึงให้รู้จักพัฒนาจินตนาการเชิงสร้างสรรค์ด้วย แคนดินสกี้สกีได้เขียนหนังสือ ''Punkt und Linie zu Flache'' ซึ่งเป็นตำราศิลปะ เมื่ออายุ 69 ปี
Kandinsky ทำงานที่ Bauhaus จนถึงปี 1933 สถาบันก็ถูกสั่งปิดโดย National Socialist Government (นาซี) เมื่อตกงาน Kandinsky ได้เดินทางออกจากเยอรมนี ไปพำนักที่เมืองเล็ก ๆ ในแถบเทือกเขา Pyrenees ของฝรั่งเศส แล้วกลับไป Paris เพื่อรักษาตัว จนเสียชีวิตเมื่ออายุ 73 ปี โดยก่อนเสียชีวิต 2 ปี กองทัพนาซีที่ Munich ได้นำผลงานศิลปะของ Kandinsky ออกแสดง และเรียกชื่องานที่จัดแสดงว่า Degenerate Art (ศิลปะทราม) เพราะ Hitler ไม่ชอบภาพ Abstract ที่ Kandinsky วาดเลย แต่คนทั่วไปชอบ จึงได้หลั่งไหลเข้าชมงานแสดงมากถึง 2 ล้านคน หลังงานแสดง ทหารนาซีคิดจะนำผลงานของ Kandinsky ทั้งหมดไปเผา แต่ที่ปรึกษาของ Hitler ได้เสนอให้นำภาพของ Kandinsky ออกขาย เพื่อจะได้นำเงินเข้าประเทศ และขายได้บ้าง ส่วนงานที่ขายไม่ได้ ได้ถูกนำไปเผา ซึ่งได้ทำร้ายจิตใจของ Kandinsky อย่างรุนแรง
 
Kandinsky แคนดินสกีทำงานที่ Bauhaus จนถึงปี 1933 สถาบันก็ถูกสั่งปิดโดย National Socialist Government (นาซี) เมื่อตกงาน Kandinsky แคนดินสกีได้เดินทางออกจากเยอรมนี ไปพำนักที่เมืองเล็ก ๆ ในแถบเทือกเขา Pyrenees ของฝรั่งเศส แล้วกลับไป Paris ปารีสเพื่อรักษาตัว จนเสียชีวิตเมื่ออายุ 73 ปี โดยก่อนเสียชีวิต 2 ปี กองทัพนาซีที่ Munichมิวนิก ได้นำผลงานศิลปะของ Kandinsky แคนดินสกีออกแสดง และเรียกชื่องานที่จัดแสดงว่า ''Degenerate Art'' (ศิลปะทราม) เพราะ Hitler [[ฮิตเลอร์]]ไม่ชอบภาพ Abstract ที่ Kandinsky แคนดินสกีวาดเลย แต่คนทั่วไปชอบ จึงได้หลั่งไหลเข้าชมงานแสดงมากถึง 2 ล้านคน หลังงานแสดง ทหารนาซีคิดจะนำผลงานของ Kandinsky แคนดินสกีทั้งหมดไปเผา แต่ที่ปรึกษาของ Hitler ฮิตเลอร์ได้เสนอให้นำภาพของ Kandinsky แคนดินสกีออกขาย เพื่อจะได้นำเงินเข้าประเทศ และขายได้บ้าง ส่วนงานที่ขายไม่ได้ ได้ถูกนำไปเผา ซึ่งได้ทำร้ายจิตใจของ Kandinsky แคนดินสกีอย่างรุนแรง
ผลงานนวศิลป์ของ Kandinsky ส่วนใหญ่มีลักษณะเป็นศิลปะพื้นบ้านของรัสเซีย ดังจะเห็นได้จากการใช้สีต่างๆ ประชันกัน บนผืนผ้าใบ สำหรับสไตล์การวาดนั้น Kandinsky มีความคิดว่า ศิลปะคือสิ่งที่ไม่แสดงว่าเป็นภาพของอะไรเลย นอกจากความรู้สึกเท่านั้น ดังนั้นภาพของ Kandinsky บางภาพจึงดูไม่ออกว่าเป็นรูปภาพของอะไร ผลงานชิ้นแรกๆ ของ Kandinsky ขณะนี้เก็บรักษาอยู่ที่ Stadtische Galorie ในมิวนิก โดยภาพที่วาดในช่วงนี้เป็นภาพที่แสดงพลังอารมณ์ (Expressionism) และนามธรรม (Abstract) ที่มีเส้นเรขาคณิตรูปแบบต่าง ๆ มากมาย ดังนั้นภาพของ Kandinsky และ Klee จึงดูคล้ายคลึงกัน แต่งานของ Kandinsky ออกแนวเล่นสนุกๆ กว่า
 
ผลงานนวศิลป์ของ Kandinsky นวศิลป์ของแคนดินสกีส่วนใหญ่มีลักษณะเป็นศิลปะพื้นบ้านของรัสเซีย ดังจะเห็นได้จากการใช้สีต่างๆ ประชันกัน บนผืนผ้าใบ สำหรับสไตล์การวาดนั้น Kandinsky แคนดินสกีมีความคิดว่า ศิลปะคือสิ่งที่ไม่แสดงว่าเป็นภาพของอะไรเลย นอกจากความรู้สึกเท่านั้น ดังนั้นภาพของ Kandinsky แคนดินสกีบางภาพจึงดูไม่ออกว่าเป็นรูปภาพของอะไร ผลงานชิ้นแรกๆ ของ Kandinsky แคนดินสกีขณะนี้เก็บรักษาอยู่ที่ Stadtische Galorie ในมิวนิก โดยภาพที่วาดในช่วงนี้เป็น[[เอกซเพรสชันนิซึม|ภาพที่แสดงพลังอารมณ์]] (Expressionism) และ[[ศิลปะนามธรรม|นามธรรม]] (Abstract) ที่มีเส้นเรขาคณิตรูปแบบต่าง ๆ มากมาย ดังนั้นภาพของ Kandinsky แคนดินสกีและ Klee จึงดูคล้ายคลึงกัน แต่งานของ Kandinsky แคนดินสกีออกแนวเล่นสนุกๆ กว่า
เมื่อถึงช่วงปลายของชีวิต ภาพของ Kandinsky ก็ยิ่งมีชีวิตชีวายิ่งกว่าภาพที่วาดในยุคต้นๆ โดยเฉพาะในช่วงหลังนี้ ภาพได้สร้างความรู้สึกให้แก่คนดูเสมือนว่ากำลังดูเหตุการณ์จากภายนอก และกำลังเข้าใจความคิดของจิตรกรที่อยู่เบื้องหลังสิ่งที่เห็น<ref>[http://www.portfolios.net/forum/topics/wassily-kandinsky#ixzz1zxj37oc6 Kandinsky]</ref>
 
เมื่อถึงช่วงปลายของชีวิต ภาพของ Kandinsky แคนดินสกีก็ยิ่งมีชีวิตชีวายิ่งกว่าภาพที่วาดในยุคต้นๆ โดยเฉพาะในช่วงหลังนี้ ภาพได้สร้างความรู้สึกให้แก่คนดูเสมือนว่ากำลังดูเหตุการณ์จากภายนอก และกำลังเข้าใจความคิดของจิตรกรที่อยู่เบื้องหลังสิ่งที่เห็น<ref>[http://www.portfolios.net/forum/topics/wassily-kandinsky#ixzz1zxj37oc6 Kandinsky]</ref>
 
== อ้างอิง ==