ผลต่างระหว่างรุ่นของ "ธรรมจักษุ"

เนื้อหาที่ลบ เนื้อหาที่เพิ่ม
ไม่มีความย่อการแก้ไข
Poonyo (คุย | ส่วนร่วม)
 
บรรทัด 1:
{{ต้องการอ้างอิง}}
{{รอการตรวจสอบ}}
'''นิตยสารธรรมจักษุ''' เป็น[[นิตยสาร]]ทาง[[พระพุทธศาสนา]]เล่มแรกของไทย โดยออกตีพิมพ์ครั้งแรกสุดเมื่อเดือนตุลาคม 2437 โดยการบุกเบิกของ[[สมเด็จพระมหาสมณเจ้า กรมพระยาวชิรญาณวโรรส]] พระองค์ได้ทรงพยายามแปล[[พระสูตร]]ต่างๆ ใน[[พระไตรปิฎก]]ที่ยังไม่เคยมีผู้ใดแปลมาก่อนมาเป็น[[ภาษาไทย]] แล้วทยอยนำลงในนิตยสารธรรมจักษุ ในเวลาเดียวกัน ก็มีการอธิบาย[[ธรรม]]ให้สอดคล้องกับยุคสมัยที่เปลี่ยนไปด้วย ทำให้นิตยสารธรรมจักษุกลายเป็น[[นิตยสาร]]ทาง[[พระพุทธศาสนา]]เล่มแรกที่ไม่เพียงแต่จะนำเสนอเนื้อหาสาระทาง[[พระพุทธศาสนา]]จากพระไตรปิฎก ซึ่งเดิมนั้น มีอยู่ใน[[ใบลาน]] เป็น[[ภาษาบาลี]]เท่านั้น ยังเป็นนิตยสารทาง[[พระพุทธศาสนา]]เล่มแรกที่กระตุ้นให้เกิดการประยุกต์หลัก [[พุทธธรรม]] มาใช้ให้เกิดประโยชน์แก่สังคมร่วมสมัยอย่างกว้างขวางด้วย
 
== คณะทำงานประจำนิตยสารธรรมจักษุในปัจจุบัน ==
''';คณะที่ปรึกษา'''
* น.อ.(พิเศษ)วีระ วัฒนนิรันดร์
* น.อ.(พิเศษ)วุฒิ อ่อนสมกิจ
* น.อ.ประยงค์ สุวรรณบุบผา
* นายพิพัฒน์ บุญยง
* นายสุชิน ทองหยวก
* รศ.[[สุเชาวน์ พลอยชุม]]
 
''';คณะทำงาน'''
* [[แสง จันทร์งาม]] บรรณาธิการ
* ทองเลี่ยม มาละลา ผู้ช่วยบรรณาธิการ
* วิโรจน์ สายดนตรี ผู้ช่วยบรรณาธิการ
* พจนารถ สุพรรณกูล ผู้ช่วยบรรณาธิการ
* ณรงค์ เสริมสกุลวัฒน์ ผู้ช่วยบรรณาธิการ
* สงบ เทพเทียนทัศ ผู้ช่วยบรรณาธิการ
* ปราโมทย์ เพ็งโคตร ผู้ช่วยบรรณาธิการ
 
== สำนักงานติดต่อ ==
สำนักงานกองบรรณาธิการนิตยสารธรรมจักษุ ตึกแผนกผลประโยชน์ [[มูลนิธิมหามกุฏราชวิทยาลัย]] เขตพระนคร กรุงเทพมหานคร
 
{{โครงพระพุทธศาสนา}}
[[หมวดหมู่:นิตยสารในประเทศไทย]]
[[หมวดหมู่:ศาสนาพุทธ]]
{{โครง}}