ผลต่างระหว่างรุ่นของ "เอ็ลเซ็ท 129 ฮินเดินบวร์ค"

เนื้อหาที่ลบ เนื้อหาที่เพิ่ม
EmausBot (คุย | ส่วนร่วม)
Robot: de:LZ 129 is a good article
OctraBot (คุย | ส่วนร่วม)
replaceViaLink
บรรทัด 1:
{{ต้องการอ้างอิง}}
{{ตรวจภาษา}}
[[ไฟล์:Hindenburg at lakehurst.jpg|thumb|300px|เรือเหาะฮินเดนบวร์กขณะจอดเทียบฐานจอดที่เลคเฮิร์ทส์ นิวเจอร์ซีนิวเจอร์ซีย์ สหรัฐ เมื่อ พ.ศ. 2479]]
 
'''ฮินเดนบวร์ก แอลแซด 129''' (มีการสะกดว่า '''ฮินเดนบูร์ก''' และ '''ฮินเดนเบิร์ก'''; {{lang-en|LZ 129 Hindenburg}}) เป็นเรือเหาะของ[[ประเทศเยอรมนี|เยอรมนี]]ที่สร้างคู่กับเรือเหาะลำน้องที่ชื่อ [[กราฟ เซปเปลิน 2]] นับเป็นอากาศยานที่มีขนาดใหญ่ที่สุดเท่าที่เคยสร้างมา ใช้ช่วงบินให้บริการปีที่ 2 ได้เกิดไฟใหม้ระหว่างแล่นลอยตัวลงจอดที่ฐานทัพเรือเลคเฮิร์สท์ [[รัฐนิวเจอร์ซีย์]] [[สหรัฐอเมริกา]] เมื่อวันที่ [[6 พฤษภาคม]] [[พ.ศ. 2480]] มีผู้เสียชีวิต 36 คน นับเป็นเหตุการณ์ที่มีการรายงานโดยสื่อต่างๆ ทั้งภาพยนตร์ ภาพถ่ายและวิทยุกระจายเสียงมากที่สุด
บรรทัด 26:
 
== การเดินทางเที่ยวสุดท้าย ==
การเดินทางเที่ยวสุดท้ายของฮินเดนบวร์ก คือ เที่ยวที่18 จากเมือง[[ฟรังค์ฟูร์ทอัมไมน์]] ประเทศเยอรมนี สู่[[รัฐนิวเจอร์ซีนิวเจอร์ซีย์]] [[ประเทศสหรัฐอเมริกา]] โดยจะถึงอเมริกาในวันที่ [[6 พฤษภาคม]] [[ค.ศ. 1937]] เวลา 6 นาฬิกาตรง แต่อากาศไม่เป็นใจ ลมแรงมาก ฮินเดนบวร์กต้องฝ่าลมแรงไป ทำให้ถึงจุดหมายล่าช้าไป 12 ชั่วโมง แต่ฮินเดนบวร์กก็ไม่สั่นสะเทือนแม้แต่น้อย
 
เรือเหาะฮินเดนบวร์กออกเดินทางจากฟรังค์ฟูร์ทอัมไมน์ในคืนวันที่ 3 พฤษภาคม พ.ศ. 2480 เพื่อเดินทางไปเลคเฮิร์ทส์ นิวเจอร์ซีนิวเจอร์ซีย์การเดินทางเป็นไปด้วยความเรียบร้อย โดยมีกระแสลมแรงต้านอยู่บ้าง ผู้โดยสารมีเพียงครึ่งลำ คือ 36 คนและมีลูกเรือ 61 คน แต่ในเที่ยวกลับได้รับการจองที่นั่งเต็มลำ เรือเหาะฮินเดนบวร์กเดินทางถึงอเมริกาในวันที่ 6 พฤษภาคม ซึ่งล่าช้ามากกว่าปกติ นอกจากนี้ยังล่าช้ามากขึ้นจากการแปรปรวนของอากาศที่ท่าจอด กัปตันเรือคือ “แมกซ์ พรุสส์” จึงพาผู้โดยสารยินชมนครนิวยอร์ก ชายฝั่งบอสตันและนิวเจอร์ซีนิวเจอร์ซีย์
 
เมื่ออากาศดีขึ้น เรือเหาะฮินเดนบวร์กจึงได้มุ่งเข้าเทียบฐานจอดเลคเฮิร์ทเมื่อเวลาประมาณ 19.00 น. ที่ความสูง 215 เมตร การลงจอดที่เลคเฮิร์ทเป็นการจอดวิธิใหม่โดยมาหยุดในที่สูงแล้วหย่อนเชือกลงมาให้เครื่องกว้านบนหอคอยทำงานแทนคนจำนวนมาก แต่วิธีนี้ต้องใช้เวลามากกว่าเพราะต้องมีความแม่นยำ เมื่อเวลา 19.08 น. เรือแล่นเลี้ยวซ้ายด้วยความเร็วเต็มที่และมาถึงจุดเทียบ กัปตันเบาเครื่องยนต์และเปิดวาล์วก๊าซเพื่อให้เรือหยุดตัว เมื่อเวลา 19.14 ที่ความสูง 120 เมตร กัปตันสั่งให้เดินเครื่องถอยหลังเต็มที่เพื่อให้เรือเหาะหยุด เวลา 19.19 น. มีการทิ้งถุงน้ำถ่วงนำหนัก 3 ถุง คือ 300, 300 และ 500 กิโลกรัมเพื่อให้เรือได้ระนาบ และให้ลูกเรือ 6 คนมาถ่วงน้ำหนักอยู่ทางหัวเรือ (เสียชีวิตหมดทุกคน) แต่ความพยายามทั้งหมดไม่เป็นผล อย่างไรก็ตามกัปตันพรุสส์ก็ได้รับอนุญาตให้ทำการจอดได้ เมื่อเวลา 19.21 น.ที่ความสูง 90 เมตร มีการทิ้งเชือกผูกฐานจอดที่กำลังจะเกิดขึ้น
บรรทัด 72:
[[หมวดหมู่:ยานไฮโดรเจน]]
[[หมวดหมู่:ประวัติศาสตร์เยอรมนี| ]]
[[หมวดหมู่:ประวัติศาสตร์รัฐนิวเจอร์ซีนิวเจอร์ซีย์]]
[[หมวดหมู่:ประวัติศาสตร์สหรัฐอเมริกา]]
{{Link GA|de}}