ผลต่างระหว่างรุ่นของ "โลหะเจือ"

เนื้อหาที่ลบ เนื้อหาที่เพิ่ม
MerlIwBot (คุย | ส่วนร่วม)
โรบอต เพิ่ม: bar:Legierung
Octahedron80 (คุย | ส่วนร่วม)
เก็บกวาด
บรรทัด 4:
โลหะเจือถ้าเกิดจากโลหะ 2 ชนิด เรียกว่า ไบนารี่อัลลอย (binary alloy), 3 ชนิด เรียกว่า เทอร์นารี่อัลลอย (ternary alloy), 4 ชนิด เรียกว่า ควอเทอร์นารี่อัลลอย (quaternary alloy)
 
ตามธรรมดาโลหะเจือจะถูกออกแบบให้มีคุณสมบัติที่ต้องการมากกว่าการดูที่ส่วนผสมของมัน ตัวอย่างเช่น [[เหล็กกล้า]]จะแข็งแรงกว่า[[เหล็ก]]ซึ่งเป็นธาตุเหล็ก [[ทองเหลือง]]จะมีความทนทานมากกว่า[[ทองแดง]] แต่มีความสวยงามน่าดึงดูดใจมากกว่า[[สังกะสี]]
 
ต่างจากโลหะ[[ความบริสุทธิ์|บริสุทธิ์]] โลหะเจือหลายชนิดไม่ได้มี[[จุดหลอมเหลว]]จุดเดียว มันจะมี[[ช่วงหลอมเหลว]]<!-- (melting range-->) แทน ซึ่งในวัสดุจะเป็นของผสมระหว่าง[[เฟส]][[ของแข็ง]]และ[[ของเหลว]] อุณหภูมิที่ซึ่งการหลอมเหลวเริ่มเรียกว่า [[โซลิดัส]] (solidus) และอุณหภูมิที่ซึ่งการหลอมเหลวหมดเรียกว่า [[ลิควิดัส]] (liquidus) โลหะเจือพิเศษสามารถจะออกแบบให้มีจุดหลอมเหลวเดียวได้ ซึ่งเรียกโลหะเจือนี้ว่า [[ยูทีติกมิกซ์เจอร์]] (eutectic mixture)
 
บางครั้งโลหะเจือตั้งชื่อตามโลหะพื้นฐาน เช่น ทอง 14 เค หรือ 14 [[การัต (ความบริสุทธิ์)|การัต]] (58%) [[ทองคำ]] คือโลหะเจือที่มีทองอยู่ 58 % ที่เหลือเป็นโลหะอื่น เช่นเดียวกับ [[เงิน]] ใช้ใน[[คาร์บอน|เพชร]] (jewellery) และ[[อะลูมิเนียม]]