ผลต่างระหว่างรุ่นของ "การเลือกตั้งสมาชิกสภาผู้แทนราษฎรไทยเป็นการทั่วไป พ.ศ. 2549"

เนื้อหาที่ลบ เนื้อหาที่เพิ่ม
V i P (คุย | ส่วนร่วม)
ไม่มีความย่อการแก้ไข
Pongsak ksm (คุย | ส่วนร่วม)
ไม่มีความย่อการแก้ไข
บรรทัด 38:
| before_party = ไทยรักไทย
| after_election = [[รัฐประหารในประเทศไทย พ.ศ. 2549]]
| after_party = คณะปฏิรูปการปกครองในระบอบประชาธิปไตยอันมีพระมหากษัตริย์ทรงเป็นประมุข|คปค.
}}
[[ไฟล์:Apisitoo.jpg|thumb|200px|นาย[[อภิสิทธิ์ เวชชาชีวะ]] หัวหน้า[[พรรคประชาธิปัตย์]] และนาย[[บรรหาร ศิลปอาชา]] หัวหน้า[[พรรคชาติไทย]] แถลงข่าวในวันที่ [[28 กุมภาพันธ์]] [[พ.ศ. 2549]] ถึงการคว่ำบาตรการเลือกตั้ง ]]
'''การเลือกตั้งสมาชิกสภาผู้แทนราษฎรไทยเป็นการทั่วไป เมษายน พ.ศ. 2549''' เป็นการเลือกตั้งสมาชิกสภาผู้แทนราษฎรที่จัดขึ้นในวันที่ [[2 เมษายน]] [[พ.ศ. 2549]]<ref>[http://www.ratchakitcha.soc.go.th/DATA/PDF/2549/00182649.PDF พระราชกฤษฎีกายุบสภาผู้แทนราษฎร พ.ศ. 2549 (ให้ยุบสภาผู้แทนราษฎร ในวันที่ 24 กุมภาพันธ์ 2549 และให้มีการเลือกตั้งสมาชิกสภาผู้แทนราษฎรเป็นการทั่วไป ในวันที่ 2 เมษายน 2549)]</ref> โดยมีสาเหตุเนื่องมาจาก[[นายกรัฐมนตรี]] [[ทักษิณ ชินวัตร|พันตำรวจโท ทักษิณ ชินวัตร]]ได้ประกาศ[[การยุบสภาผู้แทนราษฎร|ยุบสภาผู้แทนราษฎร]]เมื่อวันที่ [[24 กุมภาพันธ์]] พ.ศ. 2549 เพื่อหนีการอภิปรายไม่ไว้วางใจที่ฝ่ายค้านยื่นอภิปรายซึ่งตนเคยให้สัญญาไว้ก่อนเลือกตั้งว่าพร้อมแบ่งคะแนนเสียงให้ฝ่ายค้านทุกเมื่อหากต้องการนำไปใช้ในการอภิปรายไม่ไว้วางใจตนเอง แต่เมื่อถึงเวลาดังกล่าวกลับเจอมรสุมการเมืองรุมเร้ามากมาย รวมทั้งรัฐมนตรีของตนไม่สามารถตอบคำถามที่ชัดเจนต่อประชาชนได้จึงจำเป็นต้องประกาศยุบสภาเพื่อมิให้ข้อมมูลต่างๆที่ถูกตรวจสอบถูกเผยแพร่ออกไปสู่สาธารณะชนมากขึ้นอันจะเป็นผลเสียต่อตนเอง จึงต้องจัดให้มีการเลือกตั้งทั่วไปภายใน 60 วันตาม[[รัฐธรรมนูญแห่งราชอาณาจักรไทย พ.ศ. 2540]] โดยท้ายที่สุด เมื่อการเลือกตั้งเสร็จสิ้นแล้ว ศาลรัฐธรรมนูญได้ตัดสินให้การเลือกตั้งในครั้งนี้เป็นโมฆะ จึงทำให้ต้องมี[[การเลือกตั้งสมาชิกสภาผู้แทนราษฎรในไทย ตุลาคม พ.ศ. 2549|การเลือกตั้งใหม่อีกครั้ง]] โดยกำหนดให้มีขึ้นในในวันที่ [[15 ตุลาคม]] [[พ.ศ. 2549]]
 
== ก่อนการเลือกตั้ง ==