ผลต่างระหว่างรุ่นของ "เบ-ลอ บอร์โตก"

เนื้อหาที่ลบ เนื้อหาที่เพิ่ม
EmausBot (คุย | ส่วนร่วม)
Robot: sv:Béla Bartók is a good article
Pradinu (คุย | ส่วนร่วม)
ไม่มีความย่อการแก้ไข
บรรทัด 4:
== ประวัติ ==
 
มารดาของบาร์ต็อกได้สอนดนตรีให้แก่เขาตั้งแต่วัยเด็ก ซึ่งเขาได้เปิดตัวในฐานะนักเปียโนตั้งแต่อายุเพียงสิบปี ที่สถาบันดนตรีหลวงแห่งบูดาเปสต์ เขาได้พบกับ [[โซลทาน โคดาลี]] และต่อมา ทั้งคู่ร่วมกันรวบรวมและสะสมดนตรีพื้นบ้านในท้องถิ่น ก่อนหน้านั้นดนตรีพื้นบ้านฮังการีในทัศนะของบาร์ต็อกมีพื้นฐานมาจากทำนองเพลงของพวกยิปซี ที่คีตกวีเอก [[ฟร้านซ์ ลิซท์]] นำมาเรียบเรียงใหม่ และในปี [[พ.ศ. 2446]] (ค.ศ. 1903) เขาได้ประพันธ์ผลงานชิ้นสำคัญสำหรับ[[วงออเคสตร้าดุริยางค์]] ที่มีชื่อว่า ''Kossuth'' ในขณะที่พำนักอยู่ที่เมือง[[แมนเชสเตอร์]] ตั้งแต่ปี [[พ.ศ. 2450]] (ค.ศ. 1907) ถึงปี [[พ.ศ. 2477]] (ค.ศ. 1934) เขาได้เรียน[[เปียโน]] ที่วิทยาลัยดนตรีหลวงแห่ง[[บูดาเปสต์]] ในปี พ.ศ. 2450 เขาได้ประพันธ์บทเพลงพื้นบ้านฮังการี 3 เพลง และในปี [[พ.ศ. 2451]] (ค.ศ. 1908) เขาได้ประพันธ์บทเพลงสำหรับ[[วงควอเต็ต]]เครื่องสายบทแรก
 
ในปี [[พ.ศ. 2454]] (ค.ศ. 1911) เขาได้นำเสนอผลงานประพันธ์[[โอเปร่าอุปรากร]]เรื่องเดียวของเขา นั่นก็คือ ''ปราสาทของนายหนวดน้ำเงิน'' รัฐบาลฮังการีได้ขอให้เขายกเลิกการใช้นามแฝง ''Béla Balázs'' ในการประพันธ์โอเปร่า อุปรากร
 
ในระหว่าง[[สงครามโลกครั้งที่หนึ่ง]] เขาได้แต่งเพลงประกอบบัลเล่ต์เรื่อง ''เจ้าชายแห่งไพรสนฑ์'' และ ''แมนดารินวิเศษ'' ตามด้วยโซนาต้าอีกสองบทสำหรับบรรเลงด้วยเปียโนและไวโอลิน ที่ได้กลายเป็นหนึ่งในผลงานที่มีความสลับซับซ้อนที่สุดของเขา
 
เขาได้ประพันธ์[[สตริงควอเต็ตสำหรับเครื่องสาย หมายเลข 3]] [[สตริงควอเต็ตสำหรับเครื่องสาย หมายเลข 4]] และ [[ควอเต็ตสำหรับเครื่องสาย]] ซึ่งได้รับการยกย่องว่าเป็นบทเพลงควอเต็ตสำหรับเครื่องสายที่ดีที่สุดเท่าที่มีการแต่งมา ในปี [[พ.ศ. 2470]] - [[พ.ศ. 2471|2471]] ซึ่งทำให้ภาษาทางการประสานเสียงของเขาเรียบง่ายลงเป็นต้นมา ''[[สตริงควอเต็ตสำหรับเครื่องสาย หมายเลข 5]] '' ([[พ.ศ. 2477]]) กลับมีรูปแบบที่ยึดกับขนบประเพณีเดิมมากขึ้น จากนั้นบาร์ต็อกก็ได้ประพันธ์ [[สตริงควอเต็ตสำหรับเครื่องสาย หมายเลข 6]] และอันเป็นควอเต็ตสำหรับเครื่องสาย บทสุดท้าย อันเพลงบทเพลงที่เศร้าสร้อย และโอดครวญ ในปี[[พ.ศ. 2482]] (ค.ศ. 1939) ที่จบลงด้วยการสูญเสียมารดาสุดที่รักของเขา
 
บทเพลงเหล่านั้นกลายนี้เป็นชุดสุดท้ายที่เขาประพันธ์ขึ้นในยุโรป ในปี [[พ.ศ. 2483]] (ค.ศ. 1940) ซึ่งเป็นช่วงเริ่มต้นของ[[สงครามโลกครั้งที่สอง]] เขาได้เดินทางอย่างหมดอาลัยตายอยากไปยัง[[สหรัฐอเมริกา]] เขารู้สึกไม่ค่อยดี จึงเป็นช่วงที่เขาไม่ได้ประพันธ์เพลง
 
ต่อมา นาย[[แซร์จ คูสเซอวิทสกี]] ได้ว่าจ้างให้เขาแต่งเพลง[[คอนแชร์โต้สำหรับวงโอเคสตราดุริยางค์]] ซึ่งดูเหมือนว่าจะทำให้ความกระตือรือร้นในแการการแต่งเพลงของบาร์ต็อกหวนกลับมา เขาเริ่มประพันธ์ ''[[คอนแชร์โต้สำหรับเปียโน หมายเลข 3]]'' ซึ่งเป็นบทเพลงที่เรียบง่ายและออกแนว[[นีโอคลาสสิก]] และเขาก็ได้เริ่มแต่งคอนแชร์โต้สำหรับอัลโต้วิโอล่าตามมาอีก
 
บาร์ต็อกเสียชีวิตด้วยโรค[[ลูคีเมีย]] ผู้ที่ประพันธ์คอนแชร์โต้สำหรับอัลโตวิโอล่าต่อจนจบ ได้แก่คือลูกศิษย์ของเขา ''ทิบอร์ เซอร์ลี''
 
== ผลงานทางดนตรีชิ้นสำคัญ ==
บรรทัด 26:
* ''มิโครคอสมอส'' สำหรับเปียโน
 
=== เชมเบอร์มิวสิค ===
=== แชมเบอร์มิวสิค ===
* [[โซนาต้า]] สำหรับเดี่ยว[[ไวโอลิน]]
* [[โซนาต้า]]สองบท และ [[ราปโซดีแร็พโซดี]]สองบท สำหรับ[[ไวโอลิน]] และ [[เปียโน]]
* ''คอมทราสต์'' สำหรับ[[คลาริเน็ท]] [[ไวโอลิน]] และ [[เปียโน]]
* ''โซนาต้าสำหรับเปียโนสองตัวหลัง และ[[เครื่องเคาะ]]''
* [[ควอเต็ต]] หกบท
* [[ควอเต็ตเครื่องสาย]] หกเพลง
 
=== บทเพลงสำหรับวงออเคสตร้าดุริยางค์ ===
* [[คอนแชร์โต้]] สำหรับ [[เปียโน]] สามบท
* [[คอนแชร์โต้สำหรับเปียโน หมายเลข 2]]
* [[คอนแชร์โต้สำหรับไวโอลิน]] สองบท
* [[คอนแชร์โต้สำหรับเปียโน หมายเลข 3]]
* คอนแชร์โต้สำหรับไวโอลิน[[อัลโต้วิโอล่า]]
* ''[[ดนตรีสำหรับเครื่องสาย เครื่องเคาะ และ เซเลสต้า]]''
* ''[[คอนแชร์โต้สำหรับวงออเคสตร้าดุริยางค์]]''
 
=== อื่นๆ ===
* [[โอเปร่าอุปรากร]]เรื่อง ''ปราสาทของนายหนวดน้ำเงิน''
* [[บัลเล่ต์ละครใบ้]]เรื่อง ''แมนดารินวิเศษ''
* [[บัลเล่ต์]]เรื่อง ''เจ้าชายแห่งไพรสนฑ์''
* [[แคนเต็ตคันตาต้า]] ''คานตาคันตาต้า โพรฟานา''
 
{{เรียงลำดับ|บเลาเบลา บาร์ต็อก}}
{{birth|1881}}
{{death|1945}}
[[หมวดหมู่:คีตกวีชาวฮังการี]]
[[หมวดหมู่:นักเปียโน|บเลาเบลา บาร์ต็อก]]
[[หมวดหมู่:นักดนตรีคลาสสิก|บเลาเบลา บาร์ต็อก]]
[[หมวดหมู่:ชาวอเมริกันเชื้อสายฮังการี]]