ผลต่างระหว่างรุ่นของ "ไขควง"

เนื้อหาที่ลบ เนื้อหาที่เพิ่ม
RedBot (คุย | ส่วนร่วม)
r2.5.2) (โรบอต แก้ไข: eo:Ŝraŭboturnilo
Xqbot (คุย | ส่วนร่วม)
r2.7.3) (โรบอต เพิ่ม: chy:Onéma'táo'aneo'o; ปรับแต่งให้อ่านง่าย
บรรทัด 2:
{{โครงเทคโนโลยี}}
 
ไขควง (Screw Driver) เป็นเครื่องมือสำหรับ ขันและคลาย สกรูชนิดหัวผ่า ขนาดและรูปทรงของไขควงถูกออกแบบให้เป็นไปตามลักษณะการ ใช้งาน เช่น ไขควงที่ใช้สำหรับงานของช่างอัญมณี (Jeweler's Screw Driver)จะออกแบบมาให้เป็นไขควงที่ใช้สำหรับงานละเอียดเที่ยงตรงกับ ไขควง ที่ใช้ ในงานหนักของช่างเครื่องกลจะออกแบบให้ก้านใบเป็นรูปสี่เหลี่ยมจัตุรัสเพื่อให้ใช้ประแจ หรือ คีมจับขันเพื่อเพิ่มแรงในการบิดตัวของ ไขควง ให้มากกว่าเดิมได้ไขควงประกอบด้วย ส่วนประกอบหลัก 3 ส่วนคือ
 
1.ด้ามไขควง (Handle)
บรรทัด 10:
3.ปากไขควง (Tip)
ด้ามไขควง ออกแบบให้มีรูปทรงที่สามารถจับได้ถนัดมือ และสามารถบิดไขควงไป-มา ได้แรงมากที่สุด ไขควงจะทำจากวัสดุต่างๆ เช่น ไม้ พลาสติก หรือ โลหะบางชนิดตามประเภทการใช้งานปากไขควง จะทำจากเหล็กล้าเกรดดี ทรงกลมหรือสี่เหลี่ยม จัตุรัส ตีขึ้นรูปให้ลาดแบน และ ชุบแข็งด้วยความร้อน ในส่วนที่ไม่ได้ตีขึ้นรูปจะเป็นก้านไขควง ถ้าเป็นไขควงที่ใช้สำหรับงานเบาจะเป็นเหล็กกล้าทรงกลมถ้าเป็นไขควงสำหรับ ใช้งานหนักจะเป็นเหล็กกล้าทรงสี่เหลี่ยมจัตุรัส เพื่อให้สามารถใช้ประแจหรือคีมจับเพิ่มแรงบิดงานได้ก้านไขควงส่วนที่ต่อกับด้ามจะตีเป็นเหลี่ยมลาด เพื่อให้สวมได้สนิทกับด้าม เพื่อให้ด้ามจับก้านไขควงได้สนิทและไม่หมุนเมื่อใช้งานไขควง ในปัจจุบันมีการออกแบบให้ก้านไขควงทะลุตลอดด้าม ที่เป็นพลาสติก หรือไฟเบอร์และทำเป็นแท่นรับแรงสามารถใช้ค้อนเคาะตอกเพื่อการทำงานบางประเภทได้ขนาดความกว้างของปากไขควงจะมีสัดส่วน มาตรฐานสัมพันธ์กับความยาวของขนาดทั้งหมดของไขควงซึ่งเป็นข้อสำคัญอย่างยิ่งสำหรับการเลือกใช้ไขควงเพราะแรงบิดที่กระทำต่อตัวสกรูจะเป็น ผลส่วนหนึ่งมาจากความยาวนี้ และอีกประการหนึ่งไขควงขนาดยาวปากไขควงจะกว้างกว่าปากไขควงขนาดสั้นความหนาของปากไขควงจะขึ้นอยู่กับ ความกว้างของปาก ปากกว้างมากก็จะยิ่งมีความหนามากขึ้น ความหนาของปากไขควงเป็นผลโดยตรงกับการออกแรงบิดตัวสกรูเพราะถ้าขนาด ของปากไขควงไม่พอดีกับร่องผ่าของหัวสกรูจะทำให้การขันพลาดทำให้หัวสกรูเยินหรือต้องสูญเสียแรงงานส่วนหนึ่งในการประคองปากไขควง ให้อยู่บนร่องหัวสกรู แทนการหมุนสกรูก่อนการนำไขควงไปใช้งาน ต้องตรวจสอบปากไขควงให้อยู่ใน สภาพพร้อมที่จะใช้งาน คือ ปากต้องเรียบ ไม่มีรอยบิด และเมื่อพิจารณาดูจากด้านล่างต้องมีรูปทรงเป็นสี่เหลี่ยมผืนผ้า ไขควงที่ปากชำรุดสึกหรอไม่เรียบตรงหรือปากแตกร้าว เป็นอันตรายต่อ การใช้งานมากเพราะเมื่อใช้งานปากไขควงจะไม่สัมผัสกับร่องบนหัวสกรูเต็มที่ เมื่อออกแรงบิดจะทำให้พลาดจากร่องจะทำให้หัวสกรูบิ่นหรือลื่นจากหัว สกรูทำให้ผู้ขันได้รับอันตรายได้ไขควงแฉก (Phillips) หรือ ไขควงหัวลูกศร เป็นไขควงที่ออกแบบมาสำหรับใช้กับ สกรูชนิดร่องหัวผ่าไขว้กัน การออกแบบ ขนาด และการเลือกใช้งานก็เช่นเดียวกับไขควงปากแบนข้อสำคัญที่สุดคือต้องเลือกใช้ไขควงที่ปากแนบสนิทกับร่องผ่าบนหัวสกรู จึงใช้งานได้เต็มตามประสิทธิภาพของไขควงไขควงเยื้องศูนย์ (Offset Screw Driwer) เป็นไขควงที่ออกแบบมาสำหรับการงานพิเศษที่ไขควงแบบ ปกติใช้งานไม่ได้ เช่นตามซอกมุมต่างๆ ไขควงชนิดพิเศษทำปากไขควงอยู่ที่ปลายทั้งสองด้านอาจหันปากไปในตำแหน่งตามกันหรือเยื้องกันก็ได้ ส่วน ก้านใบไขควงอยู่ตรงกลางและทำหน้าที่เป็นด้ามไขควงด้วย
 
 
บรรทัด 39:
[[bs:Šarafciger]]
[[ca:Tornavís]]
[[chy:Onéma'táo'aneo'o]]
[[cs:Šroubovák]]
[[da:Skruetrækker]]
เข้าถึงจาก "https://th.wikipedia.org/wiki/ไขควง"