ผลต่างระหว่างรุ่นของ "ความคิด"

เนื้อหาที่ลบ เนื้อหาที่เพิ่ม
ZéroBot (คุย | ส่วนร่วม)
r2.7.1) (โรบอต เพิ่ม: ps:اند
Xqbot (คุย | ส่วนร่วม)
r2.7.3) (โรบอต แก้ไข: ps:آند; ปรับแต่งให้อ่านง่าย
บรรทัด 1:
โดยทั่วไป '''ความคิด''' หมายถึง กิจกรรมทางจิตใจหรือทางปัญญาที่เกี่ยวข้องกับจิตสำนึกเฉพาะคน ความคิดยังอาจหมายถึงกระบวนการคิดหรือลำดับแง่คิด ในทำนองเดียวกัน กรอบความคิด หมายรวมถึง กระบวนการการรับรู้ [[การรับรู้ความรู้สึก]] [[ความมีจิตสำนึก]] และ[[จินตนาการ]]<ref>Webster's II New College Dictionary, Webster Staff, Webster, Houghton Mifflin Company, Edition: 2, illustrated, revised
Published by Houghton Mifflin Harcourt, 1999, ISBN 03959621450-395-96214-5, 9780395962145, pg. 1147</ref> การทำความเข้าใจถึงจุดกำเนิดที่เป็นรูปธรรมและนามธรรม กระบวนวิธี และผล ยังคงเป็นเป้าหมายที่นักวิชาการจำนวนมาก เช่น นักชีววิทยา นักปรัชญา นักจิตวิทยา และนักสังคมวิทยา ตั้งไว้ เนื่องมาจากความคิดนั้นเป็นหลักพื้นฐานรองรับการกระทำและปฏิกิริยาของมนุษย์
 
การคิดทำให้มนุษย์สามารถเข้าใจโลกหรือออกแบบชีวิตได้แตกต่างกัน ทั้งยังทำให้นำเสนอหรือแปลความหมายสิ่งต่าง ๆ ไปตามความหมายที่เขาเข้าใจ หรือเชื่อมโยงไปถึงความต้องการ ความปรารถนา ข้อผูกมัด วัตถุประสงค์ แผน และเป้าหมายของเขาได้
บรรทัด 6:
== อ้างอิง ==
{{รายการอ้างอิง}}
 
[[หมวดหมู่:ความคิด| ]]
<!--
[[หมวดหมู่:Units of information (cognitive processes)]]
เส้น 14 ⟶ 12:
[[หมวดหมู่:Mental processes]]
-->
 
[[หมวดหมู่:ความคิด| ]]
 
[[an:Pensamiento]]
บรรทัด 61:
[[pl:Myślenie]]
[[pnb:سوچ]]
[[ps:اندآند]]
[[pt:Pensamento]]
[[qu:Yuyaychakuy]]