ผลต่างระหว่างรุ่นของ "กลุ่มภาษาเซมิติก"

เนื้อหาที่ลบ เนื้อหาที่เพิ่ม
ไม่มีความย่อการแก้ไข
Xqbot (คุย | ส่วนร่วม)
r2.7.3) (โรบอต เพิ่ม: io:Semida lingui; ปรับแต่งให้อ่านง่าย
บรรทัด 20:
มีอักษรที่ใช้กันแพร่หลายมากขึ้น ทั้งอักษรคานาอันไนต์ [[อักษรอราเมอิก]] [[อักษรอาระเบียใต้]]และ[[อักษรกีเอซ]]รุ่นแรกๆ ระหว่างช่วงนี้ มีการใช้[[อักษรยูการิติก]]ที่ใช้แทนเสียงพยัญชนะในกลุ่มภาษาเซมิติกตะวันตกเฉียงเหนือ ชาวฟินิเชียำ[[ภาษาคานาอันไนต์]]ไปใช้ทั้งเขตอาณานิคมในแถบ[[ทะเลเมดิเตอร์เรเนียน]] ในขณะที่[[ภาษาฮีบรู]]กลายเป็นภาษาทางศาสนาของชาวยิว ในสมัย[[จักรวรรดิอัสซีเรีย]] [[ภาษาอราเมอิก]]เป็นภาษากลางในตะวันออกกลางในขณะที่ภาษาอัคคาเดีย ภาษาฮีบรู และอื่นๆกลายเป็นภาษาตายหรือใช้เป็นภาษาเขียนเท่านั้น ในขณะเดียวกันอักษรกีเอซเริ่มใช้บันทึกกลุ่มภาษาเซมิติกใน[[เอธิโอเปีย]]ในช่วงนี้
 
=== พุทธศตวรรษที่ 6 เป็นต้นมา ===
[[ไฟล์:AndalusQuran.JPG|thumb|right|200px|คัมภีร์[[อัลกุรอ่าน]]ภาษาอาหรับอายุราวพุทธศตวรรษที่ 17]]
[[ภาษาซีเรียค]]ซึ่งเป็นลูกหลานของภาษาอราเมอิกใช้ใน[[เลอวานต์]]ตอนเหนือและเมโสโปเตเมีย กลายเป็นภาษาเขียนของชาวคริสต์ในพุทธศตวรรษที่ 8-10จนถึงยุคสมัยของ[[ศาสนาอิสลาม]]
บรรทัด 39:
== ไวยากรณ์ ==
กลุ่มภาษาเซมิติกมีไวยากรณ์ร่วมกันหลายอย่าง แม้จะมีส่วนที่ผันแปรกันไปบ้าง แม้ในภาษาเดียวกันเอง เช่น ภาษาอาหรับในสมัยพุทธศตวรรษที่ 11 กับภาษาอาหรับในปัจจุบัน
=== การเรียงคำ ===
การเรียงลำดับคำในภาษาเซมิติกดั้งเดิมเป็นกริยา-ประธาน-กรรม สิ่งของ-เจ้าของ และนาม-คุณศัพท์ ในภาษาอาหรับคลาสสิกและสมัยใหม่จะใช้การเรียงตำแบบนี้มาก นอกจากนั้นยังพบการเรียงประโยคแบบประธาน-กริยา-กรรม ดังที่พบในภาษาฮีบรูและภาษามอลตา กลุ่มภาษาเซมิติกในเอธิโอเปียสมัยใหม่เรียงประโยคแบบ ประธาน-กรรม-กริยา เจ้าของ-สิ่งของ และคุณศัพท์-นาม ซึ่งอาจจะมาจากอิทธิพลของกลุ่มภาษาคูชิติก กลุ่มภาษาเซมิติกที่เก่าที่สุด เช่น ภาษากีเอซ เป็นแบบกริยา-ประธาน-กรรม สิ่งของ-เจ้าของ และนาม-คุณศัพท์
=== การกของนามและคุณศัพท์ ===
ระบบการกสามแบบของภาษาเซมิติกดั้งเดิม (ประธาน กรรมตรงและเจ้าของ) โดยใช้การลงท้ายการกที่ต่างไป ยังคงมีอยู่ในภาษาอาหรับในอัลกุรอ่าน [[ภาษาอัคคาเดีย]] และ[[ภาษายูการิติก]] ลักษระนี้หายไปในภาษาเซมิติกสมัยใหม่ ภาษาอาหรับมาตรฐานสมัยใหม่คงมีการลงท้ายการกเฉพาะในการเขียนและการออกอากาศ การลงท้ายการกด้วย -n ยังคงไว้ในภาษาเซมิติกในเอธิโอเปีย นามและคุณศัพท์ในกลุ่มภาษาเซมิติกมีการกำหนดเป็นสถานะ สถานะชี้เฉพาะกำหนดโดย nunation
=== จำนวนของนามและคุณศัพท์ ===
กลุ่มภาษาเซมิติกส่วนใหญ่มี 3 จำนวนคือเอกพจน์ ทวิพจน์ และพหูพจน์ ทวิพจน์ยังใช้อยู่ในภาษาอาหรับบางสำเนียงเช่นชื่อประเทศบาห์เรน (bahr "[[ทะเล]]" + -ayn "สอง") และในภาษาฮีบรู เช่น šana หมายถึง 1 ปี šnatayim หมายถึง 2 ปี และ šanim หมายถึงหลายปี และในภาษามอลตา sena หมายถึง 1 ปี sentejn หมายถึง 2 ปี และ snin หมายถึงหลายปี การทำให้เป็นพหูพจน์โดยการแทรกเสียงสระลงไป เช่น sadd เขื่อน 1 แห่ง sudūd เขื่อนหลายแห่ง พบในภาษาอาหรับและภาษาเอธิโอเปีย รวมทั้งภาษามอลตา จึงน่าจะเป็นส่วนหนึ่งของภาษาเซมิติกดั้งเดิม
=== มาลาและกาล ===
ระบบมาลาของกลุ่มภาษาเซมิติกตะวันตกและตะวันออกต่างกันชัดเจน ภาษาอัคคาเดียรักษาลักษณะซึ่งพบโดยทั่วไปในกลุ่มภาษาแอฟโฟร-เอเชียติก ภาษาเซมิติกตะวันตกดั้งเดิมมี 2 มาลา คือสมบูรณ์สำหรับการกระทำที่สมบูรณ์และไม่สมบูรณ์ใช้กับการกระทำที่เกิดไม่สมบูรณ์ ในกรณีพิเศษของภาษาอราเมอิกใหม่มีการรวมคำกริยาซึ่งได้รับอิทธิพลจากกลุ่มภาษาอิหร่าน
 
บรรทัด 305:
 
[[หมวดหมู่:กลุ่มภาษาเซมิติก| ]]
 
{{Link GA|de}}
 
เส้น 343 ⟶ 344:
[[ia:Linguas semitic]]
[[id:Rumpun bahasa Semit]]
[[io:Semida lingui]]
[[is:Semísk tungumál]]
[[it:Lingue semitiche]]