ผลต่างระหว่างรุ่นของ "โรคใหลตาย"

เนื้อหาที่ลบ เนื้อหาที่เพิ่ม
ZéroBot (คุย | ส่วนร่วม)
r2.7.1) (โรบอต เพิ่ม: zh:突发性猝死综合征
Tiemianwusi (คุย | ส่วนร่วม)
ไม่มีความย่อการแก้ไข
บรรทัด 1:
'''โรคใหลตาย''' ({{lang-en|sudden unexpected death syndrome (ย่อ: SUDS) หรือ sudden unexpected nocturnal death syndrome (ย่อ: SUNDS)}}), มักสะกดผิดว่า '''โรคไหลตาย''' (ดู [[#ศัพทมูล|ศัพทมูล]]), เป็น [[ความตาย]]ที่เกิดแก่[[บุคคล]] ไม่ว่า[[วัยรุ่น]] (adolescent) หรือ [[ผู้ใหญ่]] (adult) อย่างปัจจุบันทันด่วนขณะ[[นอนหลับ]] และไม่อาจอธิบายสาเหตุแห่งความตายนั้นได้
 
== ศัพทมูล ==
== ศัพท์มูล ==
ใน ปี [[พ.ศ. 2533]] ซึ่งเป็นปีที่โรคใหลตายปรากฏ มีปัญหาว่า "ใหลตาย" หรือ "ไหลตาย" สะกดอย่างไรจึงจะถูกต้อง [[ราชบัณฑิตยสถาน]]จึงประชุม และมีความเห็นเป็นสองฝ่าย ฝ่ายหนึ่งเห็นควรสะกดว่า "'''ไ'''หล" (สระ ไ ไม้มลาย) เพราะ "ไหล" เป็น[[ภาษาถิ่นอีสาน]] ปรากฏในพจนานุกรมภาษาถิ่นอีสาน-ภาคกลาง ฉบับปณิธาน ของสมเด็จพระมหาวีรวงศ์ (ติสสฺมหาเถระ) มีความหมายว่า "นอนหลับไม่ได้สติ" ประกอบกับเป็นชื่อโรคซึ่งเป็น[[วิสามานยนาม]] และมิใช่หนึ่งในคำยี่สิบคำที่ต้องเขียนด้วนไม้ม้วน ขณะที่อีกฝ่ายเห็นควรสะกด "'''ใ'''หล" (สระ ใ ไม้ม้วน) โดยพิเคราะห์ว่า "ใหล" มาจาก "หลับใหล" ซึ่งมีความหมายว่า "นอนหลับไม่ได้สติ" เหมือนกัน ในการประชุมครั้งนั้น ราชบัณฑิตยสถานมิได้ลงมติข้างไหน<ref name = "ROYIN">"สู่ข้อยุติ : โรคใหลตาย". (2533, 17 พฤษภาคม).''จดหมายข่าวราชบัณฑิตยสถาน,'' (ปีที่ 2). [ออนไลน์]. เข้าถึงได้จาก: <[http://www.royin.go.th/th/knowledge/detail.php?ID=1050 ลิงก์]>. (เข้าถึงเมื่อ: 26 พฤศจิกายน 2553).</ref>