ผลต่างระหว่างรุ่นของ "สตริงคอมโบ"

เนื้อหาที่ลบ เนื้อหาที่เพิ่ม
Wnaris (คุย | ส่วนร่วม)
บรรทัด 23:
วงการดนตรีไทยมีการเปลี่ยนแปลงมาเป็นลำดับเนื่องจากอิทธิพลของดนตรีตะวันตกที่หลั่งไหลเข้ามาโดนใจวัยโจ๋ในสมัยนั้นไม่ขาดสายได้แก่วง เดอะบิทเทิล เดอะชาโดของคลิฟ ริชารด์ เอลวิส เพรสลีย ฯลฯ แทบทุกวงดนตรีมากับกีตาร์ 3 ตัว กลองชุด พร้อมๆกันนั้นวงดนตรีของไทยก็เริ่มหันมาเล่นเพลงสากลได้รับความนิยมไม่น้อยเหมือนกัน
เมื่ออเมริกามาตั้งฐานทัพในประเทศไทยสมัยสงครามเวียตนาม เพลงสากลได้รับความนิยมไม่น้อยเหมือนกัน วงดนตรีของไทยที่เล่นเพลงสากลในสมัยนั้นเช่น วงซิลเวอแชน วงรอแยลสไปรท์ ฯลฯ ร้องและเล่นตามต้นแบบเป็นส่วนใหญ่
พ.ศ. 2512 ได้จัดการประกวดวงสตริงคอมโบ้แห่งประเทศไทยขึ้นมีกติกาการแข่งขันว่า เล่นเพลงสากล 1 เพลง เพลงไทยสากล 1 เพลง เพลงพระราชนิพนธ์ 1 เพลง วงที่ชนะเลิศคือ วงจอยท์ดิอิมพอสซิเบิล รีแอ๊กชั่น ต่อมาเปลี่ยนชื่อซึ่งเดิมเป็น วงดิอิมพอสสิเบิลแปลว่าอาชีพเล่นอยู่แถบถนนเพชรบุรีตัดใหม่ในนามวงเป็นไปไม่จอยท์รีแอคชั่นหรือ เจ-ทรี (ฮอลิเดย์ เจ-ทรีตามชื่อสถานบันเทิงที่เล่น) ชื่อดิอิมพอสซิเบิลซึ่งเปลี่ยนก่อนแข่งได้มาจาก การ์ตูนในโทรทัศน์ยุคนั้น ดิอิมพอสสิเบิลดิอิมพอสซิเบิลโด่งดังเหลือหลาย นักดนตรีประกอบด้วย เศรษฐา ศิระฉายา วินัย พันธุรักษ์ อนุสรณ์ พัฒนกุล สิทธิพร อมรพันธ์ และพิชัย คงเนียม ครองรางวัลชนะเลิศ 3 ปีซ้อน
ประวัติศาสตร์วงการดนตรีไทยต้องบันทึกไว้ในฐานะวงดนตรีประเภทสตริงคอมโบ้วงแรกที่สร้างความรู้สึกเป็นสากลและเป็นวงแรกอีกเช่นกันเปิดทางให้วัยรุ่นฟังเพลงไทยแนวใหม่ ความสำเร็จขั้นสูงสุดทำให้ผู้สร้างภาพยนตร์ตลอดจนผู้ประพันธ์เพลงให้ความสนใจกับวงดนตรีประเภทนี้มากขึ้น เวลาเดียวกันวงดนตรีวงอื่นๆ ได้รับความนิยมตามมาเช่น วงพี่เอ็มไฟร์ (P.M.5) วงแฟนตาซี วงแกรนด์เอ็กซ์ วงชาตรี ฯลฯ
จากนั้นเข้าสู่ยุดแฟนฉัน (วงชาตรี) ครีกครืนรื่นเริงเรื่อยมาถึงทุกวันนี้