ผลต่างระหว่างรุ่นของ "สังขาร"

เนื้อหาที่ลบ เนื้อหาที่เพิ่ม
ไม่มีความย่อการแก้ไข
บรรทัด 1:
{{พุทธศาสนา}}
'''สังขาร''' แปลว่า ''การปรุงแต่ง สิ่งที่ถูกปรุงแต่ง'' สังขารมี 2 ความหมาย ดังนี้
 
=== สังขารในเรื่อง[[ไตรลักษณ์]]หรือ[[สามัญลักษณ์]] ===
บรรทัด 9:
สังขารในความหมายนี้ จัดเป็นรูป[[ขันธ์]]ในขันธ์ 5 มิใช่[[สังขารขันธ์]] และมีลักษณะเสมอกันโดยเป็น[[อนิจจัง]] [[ทุกขัง]] [[อนัตตา]]
 
=== สังขารในปฏิจสมุปบาท [[ขันธ์]] 5===
สังขาร หมายถึง'''ความคิด''' สิ่งปรุงแต่ง[[จิต]] ระบบปรุงแต่ง แยกแยะสิ่งที่รู้สึกและจำได้ ความรู้สึกปกติทั่วไปของคนเรา เช่นรัก ชัง โกรธ ละอายใจ อยากได้เป็นต้น
 
สังขารขันธ์ ในทางพระพุทธศาสนา แบ่งออกเป็น 3
สังขารในความหมาย 2 นี้ ได้แก่ [[เจตสิกธรรม]] คือสิ่งที่ประกอบจิตอยู่ เกิดดับพร้อมจิต รับอารมณ์อย่างเดียวกับจิต เป็นสิ่งที่ดีเรียกว่า[[กุศล]]บ้าง เป็นส่วนที่ไม่ดีเรียกว่า[[อกุศล]]บ้าง เป็นส่วนกลางๆ ไม่ดีไม่ชั่วที่เรียกว่า[[อัพยากฤต]]บ้าง
#กายสังขาร การปรุงแต่งกาย คือ ลมหายใจ หมายเอาการควบคุมการเคลื่อนไหวของร่างกายในอิริยาบทต่างๆ
#วจีสังขาร การปรุงแต่งวาจา คือ [[วิตก]] การตรึก [[วิจาร]] การตรอง หมายถึงการคิดปรุงแต่งต่างๆ
#จิตสังขาร การปรุงแต่งจิต คือ [[เจตสิก]] ได้แก่อารมณ์ต่างๆที่ปรุงแต่งจิตให้มีอาการเป็นไปต่างๆ
 
คำว่า '''สังขาร''' ในเรื่องไตรลักษณ์กับในเรื่องขันธ์จะต่างกัน คือสังขารในเรื่องไตรลักษณ์เป็น[[รูปธรรม]] ในเรื่องขันธ์เป็น[[นามธรรม]]
 
=== สังขาร ในขันธ์ 5[[ปฏิจจสมุปบาท]]===
 
สังขารแบ่งออกเป็น 3
#กายสังขาร การปรุงแต่งกาย คือ ลมหายใจ หมายเอาการควบคุมการเคลื่อนไหวของร่างกาย
#วจีสังขาร การปรุงแต่งวาจา คือ วิตก การตรึก วิจาร การตรอง หมายถึงการคิดปรุงแต่งต่างๆ
#จิตสังขาร การปรุงแต่งจิต คือ เจตสิก ได้แก่อารมณ์ต่างๆที่ปรุงแต่งจิตให้มีอาการเป็นไปต่างๆ
 
สังขารในที่นี้ คือ [[เจตสิก]]ที่ปรุงแต่งจิต อันเป็น 1 ในปรมัตถธรรม 4 คือ [[จิต]] เจตสิก [[รูป]] [[นิพพาน]]
== อ้างอิง ==
* [[พระธรรมกิตติวงศ์]] (ทองดี สุรเตโช) ป.ธ. ๙ [[ราชบัณฑิต]] ''พจนานุกรมเพื่อการศึกษาพุทธศาสน์ ชุด '''คำวัด,''' '' [[วัดราชโอรสาราม]] กรุงเทพฯ พ.ศ. 2548
เข้าถึงจาก "https://th.wikipedia.org/wiki/สังขาร"