ผลต่างระหว่างรุ่นของ "โรมันคาทอลิก"

เนื้อหาที่ลบ เนื้อหาที่เพิ่ม
MerlIwBot (คุย | ส่วนร่วม)
โรบอต เพิ่ม: io:Katolik eklezio
Antelope (คุย | ส่วนร่วม)
บรรทัด 53:
ขณะที่ [[นิกายโปรเตสแตนต์]] เข้ามาเผยแพร่ภายหลัง คือในสมัย[[พระบาทสมเด็จพระจุลจอมเกล้าเจ้าอยู่หัว]] โดยคณะ[[มิชชันนารี]] สมัยเดียวกับ[[หมอบรัดเลย์]] ชาว[[สหรัฐอเมริกา]] ซึ่งเรียกตัวเองว่า "คริสเตียน" ตามภาษาอังกฤษ
 
คำเรียกนี้เช่นเดียวกับพระนาม "[[เยซู]]" ซึ่งมาจากภาษาโปรตุเกส รวมถึงคำเรียกต่างๆ ในพระคริสตธรรมคัมภีร์ และศาสนพิธีคาทอลิก (เช่น "มิสซา") แต่ว่าอย่างไรก็ตาม ยังคงใช้ทับศัพท์ตามภาษาโปรตุเกสเรื่อยมา เพราะคนไทยคุ้นปากเสียแล้ว
 
ในภาษาอังกฤษเรียกคริสต์ศาสนาทุกนิกายเหมือนกันว่า "คริสเตียน" ซึ่งแปลตรงตัวว่า "คริสตศาสนิกชน" แต่ในประเทศไทย มักเรียกคริสตศาสนิกชนนิกายโรมันคาทอลิกว่า "คริสตัง" และเรียกนิกายโปรเตสแตนต์ว่า "คริสเตียน" เนื่องจากนิกายโรมันคาทอลิก เข้ามาเผยแพร่ตั้งแต่ก่อนสมัยพระนารายณ์มหาราช โดยบาทหลวงชาวโปรตุเกส ซึ่งในภาษาโปรตุเกสคำว่าคริสศาสนิกชนออกเสียงว่า "คริสตัง" ชาวไทยจึงติดปากเรียกผู้นับถือนิกายโรมันคาทอลิกว่า "คริสตัง"
ขณะที่ นิกายโปรเตสแตนต์ เข้ามาเผยแพร่ภายหลัง คือในสมัยพระบาทสมเด็จพระนั่งมเกล้าเจ้าอยู่หัว โดยคณะมิชชันนารี สมัยเดียวกับหมอบรัดเลย์ ชาวสหรัฐอเมริกา ซึ่งเรียกตัวเองว่า "คริสเตียน" ตามภาษาอังกฤษ
คำเรียกนี้เช่นเดียวกับพระนาม "เยซู" ซึ่งมาจากภาษาโปรตุเกส รวมถึงคำเรียกต่างๆ ในพระคริสตธรรมคัมภีร์ และศาสนพิธีคาทอลิก (เช่น "มิสซา") แต่ว่าอย่างไรก็ตาม ยังคงใช้ทับศัพท์ตามภาษาโปรตุเกสเรื่อยมา เพราะคนไทยคุ้นปากเสียแล้ว
[แก้]การเผยแผ่นิกายโรมันคาทอลิกในประเทศไทย
 
== อ้างอิง ==