ผลต่างระหว่างรุ่นของ "เอวันเจลิสตา ตอร์รีเชลลี"

เนื้อหาที่ลบ เนื้อหาที่เพิ่ม
2T (คุย | ส่วนร่วม)
OctraBot (คุย | ส่วนร่วม)
replaceViaLink
บรรทัด 47:
[[ไฟล์:Fermat_Point.svg|thumb|[[จุดสมมูล]]ของ[[จุดศูนย์ถ่วง]] ]]
 
หลังจากกาลิเลโอตาย เมื่อ [[8 มกราคม]] [[2184]] (1642) แกรนด์[[ดยุคดยุก]] [[เฟอรินันโดที่สองแห่งเมดิซี]] ([[:it:Ferdinando II de' Medici]]) ขอให้เขารับช่วงต่อกาลิเลโอในตำแหน่ง ราชบัณฑิตย์ทางคณิตศาสตร์และ [[ศาสตราจารย์]]ทางคณิตศาสตร์ภายใต้อุปถัมภ์ของดยุคดยุก (grand-ducal mathematician and professor of mathematics) ใน [[มหาวิทยาลัยปิซ่า]] ([[:en:University of Pisa|University of Pisa]])
 
ในบทบาทนี้ เขาได้พิสูจน์ตัวเองโดย แก้ปัญหาทางคณิตศาสตร์ที่ยิ่งใหญ่แห่งยุคหลายข้อ เช่น การค้นพบ
บรรทัด 66:
การประดิษฐ์คิดค้นของโตร์ริเชลลีที่ยิ่งใหญ่ที่สุดคือ เครื่องวัดความดันอากาศ หรือ [[บารอมิเตอร์]] (barometer)
ซึ่งเกิดขึ้นจากการแก้ปัญหาการทดลองที่สำคัญ
การสร้างน้ำพุกลางบ่อที่ขุดลึกประมาณ 16-18 เมตร ของแกรนด์ดยุคดยุกแห่งทัสโคนี พยายามสูบน้ำในท่อให้สูง 12 เมตรหรือมากกว่า โดยขณะลูกสูบยกน้ำขึ้น จะเกิด[[สุญญากาศ]]ทำให้เกิดแรงยกของเหลวขึ้นที่ปลายท่อขาออก แต่ค้นพบว่า ไม่ว่าทำอย่างไรก็ขึ้นไปได้เพียงขีดจำกัดที่ 9-10 เมตร ไม่สามารถสูบให้สูงกว่านี้
 
เมื่อ [[พ.ศ. 2186]] (1643) โตร์ริเชลลี ทดลองเพิ่มเติมโดยใช้ [[ปรอท (ธาตุ)|ปรอท]] ซึ่งหนักเป็น 13-14 เท่า ของ[[น้ำ]]