ผลต่างระหว่างรุ่นของ "ตุ๊กตาไล่ฝน"

เนื้อหาที่ลบ เนื้อหาที่เพิ่ม
Luckas-bot (คุย | ส่วนร่วม)
r2.7.1) (โรบอต เพิ่ม: id:Teru teru bōzu
Tiemianwusi (คุย | ส่วนร่วม)
ไม่มีความย่อการแก้ไข
บรรทัด 5:
'''ตุ๊กตาไล่ฝน''' หรือ '''เทะรุเทะรุโบซุ''' ({{ญี่ปุ่น|てるてる坊主|teru-teru-bōzu}}) เป็น[[ตุ๊กตา]]ขนาดเล็กที่[[ชาวญี่ปุ่น]]นิยมแขวนไว้ที่หน้าบ้าน ในเวลาที่ต้องการให้อากาศแจ่มใส ลักษณะของตุ๊กตาไล่ฝนเป็นตุ๊กตาผ้าสีขาว หัวกลมและมีการเขียนหน้าตา ในบางโอกาส[[ชาวนา]]จะแขวนตุ๊กตาไล่ฝนกลับหัวสำหรับ[[การขอฝน|ขอฝน]] ในปัจจุบันยังมีการแขวนตุ๊กตาไล่ฝนกันบ้าง โดยเฉพาะบ้านที่มีเด็กเล็ก
 
คำว่า เทะรุ (てる) ในภาษาญี่ปุ่นแปลว่า "แดดออก" และ โบซุ (坊主) แปลว่า [[พระ]] ทำนองเป็นตุ๊กตานักบวชที่ทำขึ้นสำหรับขอพร ญี่ปุ่นได้รับธรรมเนียมนี้มาจากประเทศจีนเมื่อราวสมัยเฮอัง ประเทศจีนมีตุ๊กตาขอพรที่เป็นตุ๊กตาเด็กผู้หญิงถื ไม้กวาดอยู่ เรียกว่า 掃晴娘 เชื่อกันว่าไม้กวาดสามารถขจัดปัดเป่าสิ่งไม่ดีออกไปได้
 
Teru teru bōzu มีความหมายแยกกันเป็นสองคำดังนี้ Teru 「てる」 หมายถึง แสงแดดหรืออากาศแจ่มใส และ bōzu 「坊主」 แปลว่าคนหัวโล้น ซึ่งก็คือนักบวชที่ต้องโกนผม คล้ายกับว่าเป็นตุ๊กตานักบวชที่ทำขึ้นสำหรับขอพรนั่นเอง และเป็นความเชื่อที่ยาวนานมาก ญี่ปุ่นได้รับธรรมเนียมนี้มาจากประเทศจีน เมื่อราวสมัยเฮอัน (ค.ศ. 794 - ค.ศ. 1185) โดยเริ่มจากที่ประเทศจีนนั้นมีตุ๊กตาขอพรที่เป็นตุ๊กตาเด็กผู้หญิงถือ ไม้กวาดอยู่ เรียกว่า So chin nyan [掃晴娘] เชื่อกันว่าไม้กวาดสามารถขจัดปัดเป่าสิ่งไม่ดีออกไปได้ และผู้หญิงก็เป็นเพศที่มีความเชื่อในเรื่องของการขอพรหนักแน่นกว่าผู้ชาย ดังนั้นถ้าแขวนเจ้าตุ๊กตาเด็กผู้หญิงถือไม้กวาดไว้แล้วขอพรให้พรุ่งนี้ อากาศแจ่มใส ก็น่าจะช่วยปัดกวาดเมฆฝนออกไปได้ด้วย
 
ในภาพยนตร์การ์ตูนเรื่อง[[อิคคิวซัง]] ได้มีการแขวนตุ๊กตาไล่ฝนไว้ที่หน้าที่พักเป็นของต่างหน้าแม่
 
== แหล่งข้อมูลอื่น ==