ผลต่างระหว่างรุ่นของ "วัดชัยมงคล (จังหวัดพิจิตร)"

เนื้อหาที่ลบ เนื้อหาที่เพิ่ม
ไม่มีความย่อการแก้ไข
ไม่มีความย่อการแก้ไข
บรรทัด 6:
ตำบลบางมูลนาก อำเภอบางมูลนาก จังหวัดพิจิตร
 
วัดชัยมงคล เลขที่ ๓๓๒ ถนนประเวศน์ ตำบลบางมูลนาก อำเภอบางมูลนาก จังหวัดพิจิตร ได้รับพระราชทานวิสุงคามสีมา เมื่อวันที่ ๓๐ เดือนตุลาคม พ.ศ.๒๔๗๙ มีเนื้อที่จำนวน ๑๔ ไร่ ๓ งาน ๕ ตารางวา ที่ธรณีสงฆ์มี ๓ แปลง มีเนื้อที่ทั้งสิ้นจำนวน ๑๖๒ ไร่ ๒ งาน ๒๗ ตารางวา สังกัดมหานิกายอยู่ในเขตปกครองคณะสงฆ์ ตำบลเนินมะกอก อำเภอบางมูลนาก จังหวัดพิจิตร ภาค ๔
 
พื้นที่บริเวณตั้งวัดเป็นที่ราบลุ่มในฤดูน้ำ น้ำท่วมทุกปี บางแห่งเป็นแอ่งน้ำ น้ำขังตลอดปี การติดต่อในฤดูฝนระหว่างวัดกับชาวบ้านและตลาดต้องใช้เรือเป็นพาหนะ ต่อมาจึงสร้างสะพานเชื่อมระหว่างวัดกับตลาดแห่งหนึ่งระหว่างวัดกับทางรถไฟแห่งหนึ่ง ปัจจุบันเป็นสะพานคอนกรีตเสริมเหล็กอย่างถาวร
 
วัดชัยมงคล มีเนื้อที่ทั้งสิ้นจำนวน ๑๖๒ ไร่ ๒ งาน ๒๗ ตารางวา สังกัดมหานิกายอยู่ในเขตปกครองคณะสงฆ์ ตำบลเนินมะกอก อำเภอบางมูลนาก จังหวัดพิจิตร ภาค ๔
 
== ประวัติ ==
เส้น 18 ⟶ 17:
== ปูชนียวัตถุและโบราณวัตถุ ==
วัดชัยมงคลเป็นวัดที่สร้างขึ้นมาใหม่ เมื่อปี พ.ศ. ๒๔๖๗ ไม่มีปูชนียวัตถุ และโบราณวัตถุอันสำคัญทางประวัติศาสตร์
 
พ.ศ. ๒๔๗๐ สร้างศาลาการเปรียญ ๑ หลัง ทรงปั้นหยา เป็นไม้ทั้งหมด มีทั้งไม้เนื้อแข็ง และไม้เนื้ออ่อน หลังคามุงสังกะสี ศาลาหลังนี้เดิมเป็นโรงมหรสพมาก่อน นายสุ่น ไม่ทราบนามสกุล เป็นผู้ยกให้ ปัจจุบันทางวัดได้ทำการรื้อถอนไปแล้ว เพื่อนำอุปกรณ์ ไปใช้ประโยชน์อย่างอื่น
 
พ.ศ. ๒๔๗๒ สร้างโรงเรียนโพธิรักษ์พิทยาคาร ๑ หลัง ปัจจุบันใช้เป็นที่อยู่อาศัยของพระภิกษุสามเณร เจ้าภาพซ่อมแซมบูรณปฏิสังขรณ์ ๒ ครั้ง คือ พ.ศ. ๒๔๘๔ และ พ.ศ. ๒๔๙๘
 
พ.ศ. ๒๔๗๓ สร้างกุฏิ ๑ หลัง ชำรุดทรุดโทรม
 
พ.ศ. ๒๕๑๑ ซ่อมแซมใหม่ บัดนี้ ชำรุดทรุดโทรมไปหมดแล้ว
 
พ.ศ. ๒๔๗๙ ได้รับพระราชทานวิสุงคามสีมา กว้าง ๔๐ เมตร ๅยาว ๘๐ เมตร เมื่อ ๓๐ ตุลาคม พ.ศ. ๒๔๗๙ และผูกพัทธสีมา เมื่อเดือน เมษายน พ.ศ. ๒๔๘๓
 
พ.ศ. ๒๔๘๒ สร้างกุฏิ “ โพธิสมบัติ “ ๑ หลัง ปัจจุบันทางวัดได้รื้อถอนไปแล้วเพื่อใช้สถานที่ ทำการก่อสร้าง ศาลาเอนกประสงค์ และนำอุปกรณ์ไปสร้างรวมกับกุฏิหลังใหม่
 
พ.ศ. ๒๔๙๒ เริ่มต่อโรงอุโบสถ และสร้างเสร็จเมื่อ พ.ศ. ๒๔๙๗
 
พ.ศ. ๒๔๙๒ สร้างโรงเรียนพระปริยัติธรรม “ จันทรมณี“ พ.ศ. ๒๕๓๑ สร้างเสริมโรงเรียนพระปริยัติธรรม โดยสร้างใหม่ทั้งหมด พ.ศ. ๒๔๙๓ สร้างกุฏิ พ.ศ. ๒๔๙๔ สร้างกุฏิ พ.ศ. ๒๔๙๗ สร้างกุฏิทรงปั้นหยา พ.ศ. ๒๕๒๘ ทางวัดไ
ด้ทำการบูรณะซ่อมแซมใหม่ โดยการรื้อเครื่องบนทั้งหมด
 
พ.ศ. ๒๔๙๓ สร้างกุฏิ พ.ศ. ๒๔๙๔ สร้างกุฏิ พ.ศ. ๒๔๙๗ สร้างกุฏิทรงปั้นหยา พ.ศ. ๒๕๒๘ ทางวัดได้ทำการบูรณะซ่อมแซมใหม่ โดยการรื้อเครื่องบนทั้งหมด
 
พ.ศ. ๒๔๙๙ สร้างสะพานใหม่โดยใช้เสาคอนกรีต รอด ตง พื้นเป็นไม้แทนสะพานเก่าซึ่งชำรุดมาก ใช้การไม่ได้ เชื่อมวัดกับตลาด
 
พ.ศ. ๒๕๐๐ สร้างกุฏิรับรองสงฆ์
 
พ.ศ. ๒๕๐๑ สร้างกุฏิไม้ “ สว่างผล “ และกุฏิ “ บุญเครือชู “พ.ศ. ๒๕๐๕ สร้างศาลากัมมัฏฐาน พ.ศ. ๒๕๐๖ สร้างเมรุ ๑ หลัง เป็นคอนกรีตเสริมเหล็ก พ.ศ. ๒๕๐๗ สร้างหอสวดมนต์ ทรงไทยมีช่อฟ้า ใบระกา หางหงส์ เสาท่อนล่างเป็นคอนกรีตเสริมเหล็กพ.ศ. ๒๕๐๙-๒๕๑๐ สร้างสะพานคอนกรีตเสริมเหล็ก (แทนสะพานเก่า) เชื่อมระหว่างวัดกับตลาดแห่งหนึ่ง และเชื่อมระหว่างวัดกับรถไฟแห่งหนึ่ง พ.ศ.๒๕๑๐ สร้างศาลา เพชรสว่างภู่สวรรค์ ลักษณะทรงไทยประยุกต์ชั้นเดียว ออกมุขกลาง พื้นไม้เนื้อแข็ง หน้าต่างบานเกล็ด มุ้งลวด หลังคามุงด้วยกระเบื้องลอนเล็ก สีแดง พ.ศ.๒๕๑๐ สร้างกุฏิ พฤกษะวันหัตถมารถ ลักษณะทรงไทยประยุกต์ ชั้นเดียว ออกมุขกลาง พื้นไม้เนื้อแข็ง หน้าต่างบานเกล็ด มุ้งลวด หลังคามุงด้วยกระเบื้องลอนเล็ก สีแดง พ.ศ. ๒๕๑๑ สร้างกุฏิตึก ร่วมใจญาติติอุทิศสร้าง ลักษณะทรงไทยประยุกต์ ออกมุขกลาง พื้นไม้เนื้อแข็งล้วน หน้าต่างไม้ มุ้งลวด หลังคามุงด้วยกระเบื้องลอนเล็ก สีแดง พ.ศ. ๒๕๑๑-๒๕๑๔ ปฏิสังขรณ์กุฏิทรงไทย ๔ หลัง
พ.ศ. ๒๕๐๑ สร้างกุฏิไม้ “ สว่างผล “ และกุฏิ “ บุญเครือชู “
พ.ศ. ๒๕๑๒ สร้างกุฏิทรงไทย “วิทยาประสาธน์โพธิรักษ์ ลักษณะทรงไทยประยุกต์ชั้นเดียว ออกมุขกลาง ใช้ไม้เนื้อแข็งล้วน เสาท่อนล่างคอนกรีตเสริมเหล็ก หลังคามุงด้วยกระเบื้องลอนเล็ก สีแดง พ.ศ. ๒๕๑๓ สร้างกุฏิทรงไทย เทียนโต บุญโญภาส ลักษณะทรงไทยประยุกต์ชั้นเดียว ออกมุขกลาง พื้นไม้เนื้อแข็ง หน้าต่างบานเกล็ด มุ้งลวด หลังคามุงด้วยกระเบื้องลอนเล็ก สีแดง พ.ศ. ๒๕๑๔ สร้างกุฏิทรงไทย เชิดชูศักดิ์พระประเสริฐ “ ลักษณะทรงไทยประยุกต์ ออกมุขกลางชั้นเดียว พื้นไม้เนื้อแข็ง หน้าต่างบานเกล็ด มุ้งลวด หลังคามุงด้วยกระเบื้องลอนเล็ก สีแดง
 
พ.ศ. ๒๕๑๔ สร้างกุฏิทรงไทย สัทธาบรรเจิดพลขันธ์ ลักษณะทรงไทยประยุกต์ ออกมุขกลาง ชั้นเดียว พื้นไม้เนื้อแข็ง หน้าต่างไม้ หลังคามุงด้วยกระเบื้องลอนเล็ก สีแดง พ.ศ. ๒๕๑๕ สร้างศาลาการเปรียญหลังใหม่ ลักษณะทรงไทยประยุกต์ เสาและคานล่างเป็นคอนกรีตเสริมเหล็ก พื้นไม้เนื้อแข็ง เครื่องบนคอนกรีตเสริมเหล็ก หลังคามุงด้วยกระเบื้องลอนใหญ่ สีแดง สร้างเสร็จเมื่อ พ.ศ. ๒๕๑๙ ใช้ชื่อว่า “ ศาลาชัยมงคล “
พ.ศ. ๒๕๐๕ สร้างศาลากัมมัฏฐาน พ.ศ. ๒๕๐๖ สร้างเมรุ ๑ หลัง เป็นคอนกรีตเสริมเหล็ก
 
พ.ศ. ๒๕๐๗ สร้างหอสวดมนต์ ทรงไทยมีช่อฟ้า ใบระกา หางหงส์ เสาท่อนล่างเป็นคอนกรีตเสริมเหล็ก
 
พ.ศ. ๒๕๐๙-๒๕๑๐ สร้างสะพานคอนกรีตเสริมเหล็ก (แทนสะพานเก่า) เชื่อมระหว่างวัดกับตลาดแห่งหนึ่ง และเชื่อมระหว่างวัดกับรถไฟแห่งหนึ่ง
 
พ.ศ.๒๕๑๐ สร้างศาลา เพชรสว่างภู่สวรรค์ ลักษณะทรงไทยประยุกต์ชั้นเดียว ออกมุขกลาง พื้นไม้เนื้อแข็ง หน้าต่างบานเกล็ด มุ้งลวด หลังคามุงด้วยกระเบื้องลอนเล็ก สีแดง
 
พ.ศ. ๒๕๐๑ สร้างกุฏิไม้ “ สว่างผล “ และกุฏิ “ บุญเครือชู “พ.ศ. ๒๕๐๕ สร้างศาลากัมมัฏฐาน พ.ศ. ๒๕๐๖ สร้างเมรุ ๑ หลัง เป็นคอนกรีตเสริมเหล็ก พ.ศ. ๒๕๐๗ สร้างหอสวดมนต์ ทรงไทยมีช่อฟ้า ใบระกา หางหงส์ เสาท่อนล่างเป็นคอนกรีตเสริมเหล็กพ.ศ. ๒๕๐๙-๒๕๑๐ สร้างสะพานคอนกรีตเสริมเหล็ก (แทนสะพานเก่า) เชื่อมระหว่างวัดกับตลาดแห่งหนึ่ง และเชื่อมระหว่างวัดกับรถไฟแห่งหนึ่ง พ.ศ.๒๕๑๐ สร้างศาลา เพชรสว่างภู่สวรรค์ ลักษณะทรงไทยประยุกต์ชั้นเดียว ออกมุขกลาง พื้นไม้เนื้อแข็ง หน้าต่างบานเกล็ด มุ้งลวด หลังคามุงด้วยกระเบื้องลอนเล็ก สีแดง พ.ศ.๒๕๑๐ สร้างกุฏิ พฤกษะวันหัตถมารถ ลักษณะทรงไทยประยุกต์ ชั้นเดียว ออกมุขกลาง พื้นไม้เนื้อแข็ง หน้าต่างบานเกล็ด มุ้งลวด หลังคามุงด้วยกระเบื้องลอนเล็ก สีแดง พ.ศ. ๒๕๑๑ สร้างกุฏิตึก ร่วมใจญาติติอุทิศสร้าง ลักษณะทรงไทยประยุกต์ ออกมุขกลาง พื้นไม้เนื้อแข็งล้วน หน้าต่างไม้ มุ้งลวด หลังคามุงด้วยกระเบื้องลอนเล็ก สีแดง พ.ศ. ๒๕๑๑-๒๕๑๔ ปฏิสังขรณ์กุฏิทรงไทย ๔ หลัง
 
พ.ศ. ๒๕๑๒ สร้างกุฏิทรงไทย “วิทยาประสาธน์โพธิรักษ์ ลักษณะทรงไทยประยุกต์ชั้นเดียว ออกมุขกลาง ใช้ไม้เนื้อแข็งล้วน เสาท่อนล่างคอนกรีตเสริมเหล็ก หลังคามุงด้วยกระเบื้องลอนเล็ก สีแดง
 
พ.ศ. ๒๕๑๓ สร้างกุฏิทรงไทย เทียนโต บุญโญภาส ลักษณะทรงไทยประยุกต์ชั้นเดียว ออกมุขกลาง พื้นไม้เนื้อแข็ง หน้าต่างบานเกล็ด มุ้งลวด หลังคามุงด้วยกระเบื้องลอนเล็ก สีแดง
 
พ.ศ. ๒๕๑๔ สร้างกุฏิทรงไทย เชิดชูศักดิ์พระประเสริฐ “ ลักษณะทรงไทยประยุกต์ ออกมุขกลางชั้นเดียว พื้นไม้เนื้อแข็ง หน้าต่างบานเกล็ด มุ้งลวด หลังคามุงด้วยกระเบื้องลอนเล็ก สีแดง
 
พ.ศ. ๒๕๑๔ สร้างกุฏิทรงไทย สัทธาบรรเจิดพลขันธ์ ลักษณะทรงไทยประยุกต์ ออกมุขกลาง ชั้นเดียว พื้นไม้เนื้อแข็ง หน้าต่างไม้ หลังคามุงด้วยกระเบื้องลอนเล็ก สีแดง
 
พ.ศ. ๒๕๑๔ สร้างกุฏิทรงไทย สัทธาบรรเจิดพลขันธ์ ลักษณะทรงไทยประยุกต์ ออกมุขกลาง ชั้นเดียว พื้นไม้เนื้อแข็ง หน้าต่างไม้ หลังคามุงด้วยกระเบื้องลอนเล็ก สีแดง พ.ศ. ๒๕๑๕ สร้างศาลาการเปรียญหลังใหม่ ลักษณะทรงไทยประยุกต์ เสาและคานล่างเป็นคอนกรีตเสริมเหล็ก พื้นไม้เนื้อแข็ง เครื่องบนคอนกรีตเสริมเหล็ก หลังคามุงด้วยกระเบื้องลอนใหญ่ สีแดง สร้างเสร็จเมื่อ พ.ศ. ๒๕๑๙ ใช้ชื่อว่า “ ศาลาชัยมงคล “
 
พ.ศ. ๒๕๑๙ ใช้ชื่อว่า “ ศาลาชัยมงคล “
 
พ.ศ. ๒๕๑๕ สร้างกุฏิทรงไทย สุขสันติโพธิสมบัติ ลักษณะทรงไทยประยุกต์ ออกมุขกลางชั้นเดียว พื้นไม้เนื้อแข็ง หน้าต่างบานเกล็ด มุ้งลวด หลังคามุงด้วยกระเบื้องลอนเล็ก สีแดง
 
พ.ศ. ๒๕๑๕ สร้างกุฏิทรงไทย สุขสวัสดิ์พิเศษธรรมนิวิษฐ์ ลักษณะทรงไทยประยุกต์ ออกมุขกลาง ๒ ชั้น เสาและคานล่างเป็นคอนกรีตเสริมเหล็ก พื้นและเครื่องบนไม้เนื้อแข็ง หน้าต่างบานเกล็ด มุ้งลวด หลังคามุงด้วยกระเบื้อง สีแดง
พ.ศ. ๒๕๑๖ สร้างกุฏิทรงไทย “บุพพการิยานุสรณ์” ครึ่งตึกครึ่งไม้ ลักษณะทรงไทยประยุกต์ เสาท่อนล่างคอนกรีตเสริมเหล็ก ชั้นเดียว พื้นไม้เนื้อแข็ง หน้าต่างไม้ มุ้งลวด หลังคามุงด้วยกระเบื้องลอนเล็ก สีแดง กว้าง ๕ เมตร ยาว ๑๐ เมตร เป็นเงิน ๘๐,๐๐๐ บาท สร้างด้วยเงินของนางเชื้อ มีนาก พระฉิม จ.ส.อ.วิเชียร และ ร.อ.ชื้น แก้วสาหร่าย
 
พ.ศ. ๒๕๑๘ สร้างสะพานคอนกรีตเสริมเหล็กผ่านหน้ากุฏิ “สุขสันติโพธิสมบัติ“ และกุฏิ“สุขสวัสดิ์-พิเศษธรรมนิวิษฐ์
 
พ.ศ. ๒๕๒๐ สร้างชานรอบเมรุ กว้าง ๑๓.๑๗ เมตร ยาว ๑๙.๗๐ เมตร สร้างด้วยคอนกรีตเสริมเหล็ก
 
พ.ศ. ๒๕๒๑ สร้างสะพานคอนกรีตเสริมเหล็ก ผ่านหน้ากุฏิ“โพธิสมบัติ“ ( ปัจจุบันเป็นศาลาเอนก-ประสงค์ ) กุฏิธรรมโชติ และโรงเรียนโพธิรักษ์พิทยาคาร“
 
พ.ศ. ๒๕๒๒ สร้างสะพานคอนกรีตเสริมเหล็ก ผ่านหน้ากุฏิ“บุพการิยานุสรณ์“
 
พ.ศ. ๒๕๒๒ สร้างกุฏิหลวงพ่อเขียน ธมฺมรกฺขิโต ลักษณะทรงไทยประยุกต์ชั้นเดียว
 
พ.ศ. ๒๕๒๓ สร้างห้องเก็บเครื่องกำเนิดไฟฟ้า สร้างด้วยคอนกรีตเสริมเหล็ก
 
พ.ศ. ๒๕๒๓ สร้างสะพานคอนกรีตเสริมเหล็กผ่านหน้ากุฏิหลวงพ่อเขียน ธมฺมรกฺขิโต และโรงเรียนปริยัติธรรม“จันทรมณี“
 
พ.ศ. ๒๕๒๓ สร้างสะพานคอนกรีตเสริมเหล็ก เชื่อมระหว่างสะพานหน้าวัดกับห้องเครื่องกำเนิดไฟฟ้า
 
พ.ศ. ๒๕๒๓ ต่อระเบียงกุฏิอาวาส ( ด้านหลัง )
 
พ.ศ. ๒๕๒๕ ทำการบูรณะซ่อมแซมอุโบสถ โดยทำการรื้อเครื่องบนทั้งหมด
 
พ.ศ. ๒๕๒๗ สร้างหอระฆัง ๑ หลัง
 
พ.ศ. ๒๕๒๘ บูรณะซ่อมแซมกุฏิ “สุขสถิตย์อเนกประโยชน์
 
พ.ศ. ๒๕๒๙ สร้างกุฏิ “โพธิ-บุญ-สว่าง
 
พ.ศ. ๒๕๒๙ สร้างศาลาเอนกประสงค์
 
พ.ศ. ๒๕๓๐ ทำการเปลี่ยนสายไฟฟ้าภายในบริเวณวัด
 
พ.ศ.๒๕๓๐ จัดซื้อเก้าอี้เสื้อกั๊ก
พ.ศ. ๒๕๓๒ สร้างกุฏิ สุขรุ่งโรจน์สถาพร
 
พ.ศ. ๒๕๓๓ ทำการขยายสะพานคอนกรีตเสริมเหล็ก