เนื้อหาที่ลบ เนื้อหาที่เพิ่ม
ไม่มีความย่อการแก้ไข
บรรทัด 37:
http://www.cmprice.com/market/category_detail.php?cate_id=23201554
ชั่วโมงเซียน : พระสมเด็จจิตรลดา..."พิมพ์เล็ก"
http://images.google.co.th/imgres?imgurl=http://www.thaprachan.com/upload/pramool_board/Picture%2520063(3).jpg&imgrefurl=http://www.thaprachan.com/answer.asp%3Ftopic_id%3D1631&h=312&w=230&sz=31&hl=th&start=53&tbnid=Ss5fGulLoP1fQM:&tbnh=117&tbnw=86&prev=/images%3Fq%3D%25E0%25B8%2588%25E0%25B8%25B4%25E0%25B8%2595%25E0%25B8%25A3%25E0%25B8%25A5%25E0%25B8%2594%25E0%25B8%25B2%26start%3D40%26ndsp%3D20%26svnum%3D10%26hl%3Dth%26sa%3DN
พระสมเด็จจิตรลดา หรือ พระกำลังแผ่นดิน ณ เวลานี้ถือเป็นสุดยอดปรารถนาของคนในวงการพระเครื่อง แต่ต้องแลกมาด้วยเงินไม่ต่ำกว่า ๑.๕ ล้านบาท ซึ่งนับวันตัวเลขดังกล่าวจะขยับขึ้นเรื่อยๆ ล่าสุดค่านิยมขยับขึ้นไปที่ ๒ ล้านบาท แล้ว ในขณะที่ พระสมเด็จจิตรลดา พิมพ์เล็ก ซึ่งไม่ค่อยปรากฏให้เห็น และหมุนเวียนในวงการพระเครื่อง ค่านิยมกลับสูงถึง ๓ ล้านบาท เป็นอย่างน้อย
 
บรรทัด 158:
โบราณนั้นได้บรรจงสร้างสรรค์และสร้างให้ได้ทันแก่เวลา และให้จำ
นวนพระเท่ากับพระธรรมขันธ์ ดังนั้นจึงได้มีอยู่หลายแม่พิมพ์
 
 
ประวัติพระผงสุพรรณ
 
พระผงสุพรรณ เป็นยอดพระเครื่องฯ ในชุดเบญจภาคีที่มีค่าเป็นอันดับหนึ่ง ในเมืองสุพรรณ แต่ปัจจุบันนี้หาได้ยาก (มีของปอมกลาดเกลื่อนไปหมด )
 
กรุแตกเมื่อปี พ. ศ. ๒๔๕๖
นาย พิน ฯ ได้เล่าว่า ในปี พ. ศ ๒๔๕๖ สมัยนั้นตนยังเป็นเด็กลูกวัดอยู่ ต่อมาได้มีพระดงค์รูปหนึ่งมาถามแกว่า
วัด “พระธาตุไปทางไหน” นายพิน ฯ ก็ชี้บอกทางให้ ครั้งภายหลัง นายพินฯ จึงมาทราบว่าพระธุดงค์รูปนั้นได้ลายแทงมาขุดหาสมบัติ ของสำคัญได้ผอบทองคำไปใบหนึ่ง และมิได้นำอะไรไปจากกรุเลย แต่ชาวจีนที่พระธุดงค์จ้างมาขุด กับได้พระเครื่องฯ ต่างๆไปเป็นอันมาก อาทิเช่นพระผงสุพรรณ พระกำแพงศอก ฯลฯ แล้วนำออกเร่ขาย ความทราบถึงเจ้าหน้าที่ฝ่ายบ้านเมืองก็รีบไปจัดการอุดช่องที่เจาะพระปรางค์วัดพระศรีรัตนมหาธาตุเสีย
ในปี พ.ศ.๒๔๕๖ (ปีเดียวกับกรุแตก ) พระยาสุนทรบุรี (อี้ กรรณสูต ) ผู้ว่าราชการจังหวัด ได้นำเสด็จพระบาทสมเด็จพระมงกุฏเกล้าเจ้าอยู่หัวไปเปิดกรุได้พบลายแทงแผ่นลายเงิน-ทอง จารึกอักษรขอม
ครั้งต่อมาพระยาสุนทรบุรี ได้นำเอาพระผงสุพรรณ ขึ้นถวายตลอดจนพระเครื่อง ฯ กรุพระปรางค์วัดพระศรีรัตนมหาธาตุ แด่ล้นเกล้า ฯ ร. ๖
 
อภินิหาร
สมัยก่อนโน้น ชาวเมืองสุพรรณนิยม กีฬาชนควาย พนันกัน เอาเงินเอาทองและเล่นกันมาก ประจวบกับในระหว่างนั้น พระผงสุพรรณนั้นมีมาก และไม่มีมูลค่า(ราคาของเงิน )เหมือนเช่นปัจบันนี้ จึงได้นำเอาพระผงสุพรรณองค์ที่แตกหักไปป่นให้ละเอียดผสมคลุกกับหญ้าให้ควายกินแล้นำควายแล้วนำควายไปชนกันวิธีการอาราธนา-การใช้
ให้เอาพระผงสุพรรณสรงน้ำหอม นั่งบริกรรม พุทธคุณ, ธรรมคุณ, สังฆคุณ ๑๐๘ จบ สวดพาหุง ๓ จบ
ให้เก็บน้ำมันหอมไว้ใช้ได้เสมอ และถ้าจะให้เพิ่มความขลังให้ว่าบทดังนี้อีกกลั้นลมหายใจให้เป็นสมาธิเพื่อความขลังยิ่งขึ้นว่า คะเต ลิก เก กะระณังมะหา ชัยยังมังคะลัง นะมะพะทะ กิริมิติ กุรุมุธุ เกเรเมเถ กะระมะถะ ประสิทธิ์นักแลฯ
 
ลักษณะพระผงสุพรรณ
กรอบ เป็นรูปสามเหลี่ยม ยอดตัด ( ตัดด้วยตอก )ตลอดจนขอบข้าง
และแบบชนิดคล้ายพระนางพญาก็มี แต่มีน้อยมาก พระวรกาย เป็นพระพุทธรูป ศิลป์สมัยอู่ทอง
แบบพิมพ์ที่มารตฐาน มี ๓ แบบคือ พิมพ์หน้าแก่ พิมพ์หน้ากลาง และ พิมพ์หน้าหนุ่ม
พระเกศ ซ้อนกัน ๓ชั้น พระกรรณ หย่อนยาน ปลายพระกรรณซ้ายหักเข้ามุมใน ต้นของพระกรรณติดกับพระเศียร คล้ายหูแพะ พระอุระ คล้ายหัวช้าง พระอุทร แฟบ ด้านหลังจะปรากฏรอยนิ้วมือเกือบทุกองค์
มารวิชัย พระผงสุพรรณ มีสีที่แตกต่างกัน ถึง ๔สี คือ ๑ สีดำ ๒ สีแดง ๓ สีเขียว ๔ สีพิกุลแห้ง
ส่วน ด้านพระพุทธคุณนั้นใช้ดีในทางเมตตามหานิยม คงกระพัน ตลอดจน แคล้ว และคงกระพันชาตรี
สรุปความแล้วก็ คือ พระเครื่องราง ของขังไม่ว่ากรุใหนๆ วัดใด ก็ตาม ย่อมมีอภินิหาร อำนาจลึกลับ อยู่ในพระเครื่องเสมอ ซึ่งทั้งนี้ก็เนื่องมาจากพระอาจารย์ผู้สร้างพระเครื่องนั้นๆ เสมอ ท่านได้บรรลุแล้วซึ่งญาณสมาบัติ
อันสูงสุด และหมดสิ้นซึ่งกิเลสใดๆทั้งสิ้น ( อำนาจของดวงจิตเป็นสมาธินั่นเอง ) ซึ่งทั้งนี้ก็หวังที่จะสืบทอด พระพุทธศาสนา ให้เจริญเจริญถาวรไป ๕ ๐๐๐ ปี โดยการ บรรจุกรุ เป็นต้น