เนื้อหาที่ลบ เนื้อหาที่เพิ่ม
ไม่มีความย่อการแก้ไข
ไม่มีความย่อการแก้ไข
บรรทัด 62:
รหัส SJ01 พระนางพญาเสน่ห์จันทร์ กรุต้นจันทร์ พิมพ์กลาง
เมื่อกล่าวถึงเมืองสุโขทัย ซึ่งเป็นยอดแห่งงานศิลป์ เกือบ
 
 
ต่อไปนี้ จะขอกล่าวถึงชุดพระเครื่องฯ “เบญจภาคี“ อันได้แก่พระสมเด็จๆ พระนางพญาจังหวัดพิษณุโลก
พระรอด จังหวัดลำพูน, พระกำแพงทุ่งเศรษฐี จังหวัดกำแพงเพชร, พระผงสุพรรณ จังหวัดสุพรรณบุรี
 
การกำเนิดพระสมเด็จฯ
แหล่งกำเนิดพระสมเด็จฯ เท่าที่ทราบมีอยู่ด้วยกัน ๓ วัด คือ
 
๑. วัดระฆังโฆษิตาราม วัดนี้เป็นวัดเก่า โบราณนานมาแล้วในยุคสมัยกรุงศรีอยุธยาตามหลักฐานในประศาสตร์ กล่าวเล่ากันว่า วัดนี้มีชื่อว่าวัดบางหว้าใหญ่ครั้งถึงยุคกรุงรัตนโกสินทร์พระบาทสมเด็จพระพุธยอดฟ้าจุฬาโลก ได้ทรงปฏิสังขรณ์ขึ้นใหม่ให้เป็นพระ
อารามหลวงโดยทรงให้เปลี่ยนชื่อเสียใหม่ว่า “ วัดระฆังโฆษิตาราม “ สืบมากระทั่งทุกวันนี้ และเป็นวัดที่สมเด็จ
พระพุฒาจารย์โตฯ ได้มาบวชเณรอยู่จนได้รับพระสมณศักด์ขึ้นเป็นสมเด็จพุฒาจารย์ ฯ และเป็นเจ้าอาวาสจนสิ้นบุญนับเป็นครั้งแรกที่ท่านได้สร้างขึ้นไว้
 
๒. พระสมเด็จวัดบางขุนพรหม “วัดใหม่อมตรส “ กล่าวกันต่อมาว่า เสมียนตราด้วงต้นตระกูลธนโกเศศ เป็นผู้ปฏิสังขรณ์ข้นใหม่จนแล้วเส็จเมื่อปี พ ส ๒๔๑๑และได้สร้างพระเจดีย์ขึ้น เพื่อบรรจุอัฐิบรรพบุรุษ
ครั้งต่อมาเสมียนตราด้วงได้ไปนิมนต์ท่านเจ้าพระคุณสมเด็จ ฯ มาทำพิธีสร้างพระสมเด็จ ฯ ขึ้นที่วัดอินทรวิหาร
ซึ่งแต่เดิมนั้นชื่อว่า วัดบางขุนพรหมนอก. แลัวนำมาบรรจุไว้ในพระเจดีย์ใหญ่ที่วัดใหม่อมตรส
 
๓. วัดเกศไชโยวรวิหาร จังหวัดอ่างทอง วัดนี้ตามหลักฐานที่ท่านผู้รู้ได้เล่าสืบต่อกันมาว่า “สมเด็จพุฒาจารย์โต เป็นผู้สร้างขึ้นเพื่ออุทิศส่วนบุญให้โยมมารดา และตา จึงตั้งนามว่าวัดเกศไชโย ( มารดาชื่อเกศ ตา ชื่อชัย ) และยังได้สร้างพระนั่งองค์ใหญ่ไว้ ๑ องค์ เพื่อเป็นอนุสรณ์ให้รู้ว่า “ขณะท่านยังเป็นเด็กได้สอนนั่งได้ที่นี่
ครั้งต่อมาในปี พ ศ .๒๔๓๐ เจ้าพระยารัตนบดินทร์สมุห์นายกได้มีจิตศรัทธาปฏิสังขรณ์พระอารามนี้ขึ้นใหม่พร้อมทั้งพระอุโบสถ และพระวิหาร แต่ทว่าความสั่นเสทือนของการปฏิสังขรณ์ในครั้งนั้นจนทำให้พระโตนั่งพังลงมาความทราบถึงพระบาทสมเด็จ
พระพุทธเจ้าหลวง จึงมีพระราชภาระให้สร้างพระโตขึ้นใหม่ และเสร็จในปี ๒๔๓๔ ทรงถวายพระนามว่าพระมหาพุทธพิมพ์ และทรงเปลี่ยนชื่อวัดว่า “วัดไชโยวรวิหาร “ ให้เป็นพระอารามหลวง ตั้งแต่นั้นมา
 
การสร้างพระสมเด็จฯ
เหตุของการสร้างพระสมเด็จ ฯ นั้นมีเรื่องเล่ากันว่า “ครั้งหนึ่งทานเจ้าพระคุณสมเด็จฯ ได้ขึ้นไปเยี่ยมญาติที่จังหวัด
กำแพงเพชร และได้พบศิลาจารึกบนใบลานและแม่พิมพ์ของการสร้างพระหลายอย่างด้วยกัน
ก็ได้ดำริที่จะสร้างพระพิมพ์ขึ้นมาเพื่อเป็นการสืบทอดพระศาสนาตามเยี่ยงโบราณกาลบ้าง พร้อมยังได้นำเศษพระเครื่องที่แตกหักชำรุด เพื่อนำมาเป็นส่วนผสมในการสร้างพระในครั้งนั้นด้วย จึงได้มีผู้มีจิตศรัทธาได้คิดแบบพิมพ์ขึ้นหลายแบบพิมพ์ด้วยกัน มีทั้งแบบพิมพ์พระนางพญา พิมพ์เม็ดขนุน พิมพ์สี่เหลี่ยมชิ้นฟัก พิมพ์พระโต ฯ และแบบอื่น ๆ อีกหลายแบบด้วยกัน แต่ในที่นี้จะขอกล่าวถึงพิมพ์ที่มหาชนนิยม แต่ทั้งนั้นพระเครื่องที่ท่านได้สร้างขึ้นมานั้นก็ล้วนแต่ขลัง และศักดิ์สิทธิ์ทั้งสิ้น ขอให้เป็นของเก่าของแท้ แล้วท่านจะไม่ผิดหวัง ในพุทธคุณ พุทธานุภาพ วิเศษสุดสำหรับผู้ใช้ และจัดได้ว่า เป็นวัตถุโบราณอันสำคัญของชาติ อีกด้วย
 
๑. พระสมเด็จวัดระฆังโฆษิตาราม แบบพิมพ์ที่อยู่ในความนิยม และมีมูลค่าในการแลกเปลี่ยนสูง มีดังนี้
๑. พิมพ์พระประธาน “พิมพ์ใหญ่ “ ๒. พิมพ์ทรงเจดีย์ ๓. พิมพ์ทรงฐานแซม ๔. พิมพ์ไกเซอร์ ๕. พิมพ์เกศบัวตูม
๖. พิมพ์ปรกโพธิ์ ๗. พิมพ์สังฆาฏิ (อย่าหลงทางซึ่งแต่ละพิมพ์ยังเเยกออกอีกหลายพิมพ์ดว้ยกัน)
 
๒. พระสมเด็จวัดใหม่อมตรส "วัดบางขุนพรหม"
เป็นพระสมเด็จฯ ที่เสมียนตราด้วง ได้นิมนต์ท่านเจ้าพระคุณสมเด็จ ฯ มาปลุกเสกและบรรจุในกรุ พระกรุนี้จึงมีสนิมกรุแน่นติดแน่นอยู่กับเนื้อพระพิมพ์พระซึ่งอยู่ในความนิยมของมหาชนมีดังต่อไปนี้คือ .
๑. พิมพ์ใหญ่ ( พิมพ์พระประธาน ) ๒. พิมพ์ทรงเจดีย์ ๓. พิมพ์ฐานแซม ๔. พิมพ์เส้นด้าย ๕. พิมพ์เกศบัวตูม
๖. สังฆาฏิ ๗. พิมพ์ฐานคู่ ๘. พิมพ์อกครุฑ ๙. พิมพ์ปรกโพธิ์ ดังนี้เป็นต้น
 
๓. พระสมเด็จวัดไชโยวรวิหาร จังหวัดอ่างทอง
พระสมเด็จ ฯ วัดนี้ท่านเจ้าพระคูณสมเด็จ ฯ ได้สร้างขึ้นเพื่ออุทิศส่วนบุญให้แก่โยมมารดา และตาของท่านซึ่งบรรจุอยู่ในพระเจดีย์ต่อมาพระเจดีย์ได้พังลง
จึงมีผู้มาพบและเรียกพระกรุ นี้ว่า พระสมเด็จวัดเกศไชโยในพระเจดีย์ พระสมเด็จวัดเกศไชโย แบบพิมพ์ ที่อยู่ในความนิยม มีดังต่อไปนี้.
๑. พิมพ์อกร่องหูยาน ๒. พิมพ์อกร่องฐาน ๗ ชั้น ๓. พิมพ์อกร่องฐาน ๖ชั้น ๔. พิมพ์อกร่องฐาน๕ชั้นฯ
 
วัสดุที่ไช้ในการสร้างพระสมเด็จ
พระสมเด็จฯ ของท่านเจ้าพระคุณสมเด็จฯ ที่ได้สร้างขึ้นนั้น ทานได้ผสมด้วยผงวิเศษถึง ๕ อย่างด้วยกัน และโดยเฉพาะอย่างยิ่งแล้วกล่าวกันว่า “อานุภาพของผงวิเศษ ๕ อย่างนี้มีคุณานุภาพมากมายนักสุดที่จะพรรณนาดังเช่น
 
๑. ดินสอพอง ท่านได้เก็บรวบรวมมาจากการึศึกษาอักขระเลขยันต์ต่าง ๆ อันได้แก่การเขียนพระเวทย์อันศักดิ์สิทธิ์ จากพระตำหรับคัมภีร์พุทธาคม อันได้แก่ ผงปถมัง. อิทะเจ. มหาราช. พุทธคุณ และตรีนิสิงเหง ซึ่ยากยิ่งนักที่บุคคลทั้งหลายจะทำได้สำเร็จ อานุภาพก่อให้เกิดลาภผลต่าง ๆ แก่ท่านผู้ที่ได้นำไปใช้ ผงวิเศษ ๕ อย่างนี้มีคุณวิเศษที่สุดยากที่จะหาได้ง่ายนัก
 
๒. ข้าวสุก ท่านเจ้าพระคุณสมเด็จ ฯ ได้มาจากการบิณฑบาต และได้นำมาผสมกับผงวิเศษของท่านในการสร้างพระสมเด็จ โดยท่านแบ่งออกเป็นสี่ส่วน คือ ๑ สำหรับท่านฉัน ๒ แบ่งให้ลูกศิษย์ ๓ให้ทานแก่นก กา ๔ ที่เหลือนำมาผสมในการสร้างพระเครื่อง
 
๓. กล้วยน้ำ (กล้วยหอมจันทร์) ท่านเจ้าพระคุณสมเด็จ ฯ ท่านเอาทั้งเปลือกและเนื้อมาบดตำให้ละเอียด แล้วนำมาผสมในการสร้างพระเครื่อง
 
๔. ผงเกสรดอกไม้ ท่านเจ้าพระคุณสมเด็จ ฯ จะถือเอานิมิตอะไรก็เหลือทราบ แต่เท่าที่ทราบก็คือท่านได้เดินตามรอยอย่างของโบราณาจารย์ทั้งสิ้น
 
๕. ปูนขาว ท่านเจ้าพระคุณสมเด็จฯ มิใช้ปูนขาวทาผนัง แต่ท่านได้นำเอาเปลือกหอยตามชายทะเลและที่ชาวบ้านบริโภคเนื้อทิ้งเปลือกไว้ท่านได้นำมาเผา แล้วนำมาบดตำจนละเอียดเป็นผงแป้ง ใช้เป็นวัสดุส่วนสำคัญที่ต้องการปริมาณมากในการผสมพระสมเด็จ ส่วนน้ำมันตั้งอิ๋วมีส่วนผสม กับน้ำพุทธมนต์เพื่อการหล่อหลอมตัวเกี่ยวของเนื้อพระให้ให้ยึดแน่น ไม่เปราะหักแตกง่าย จะเห็นได้ว่าพระสมเด็จ ฯได้ถูกสร้างขึ้นด้วยผงวิเศษต่าง ๆ ดังกล่าวมานี้ จึงมีคุณานุภาพมากมายยิ่งนัก เพราะเหตุนี้จึงเป็นที่ต้องการของมหาชนยิ่งนัก ทำให้เกิดการทำพระปลอมแปลง เลียนแบบ มาหลอกแลกเปลี่ยนชื้อขายกันมากมาย จึงขอให้ระวัง
 
ลักษณะเนื้อของพระสมเด็จฯ
เนื้อพระสมเด็จ ฯ หลักใหญ่แล้วมีอยู่ ๒แบบ คือ เนื้อแกร่ง. เนื้อหนึกนุ่มนอกจากนั้นแล้ว “ ตรียัมประวาย “ ยังแบ่งการพิจารณาออกเป็น ๑๓ รายการ ดังนี้คือ ๑ความละเอียด ปรกติเนื้อพระสมเด็จ จะมีลักษณะค่อนข้างละเอียดเพราะเป็นเนื้อปูน ต่างกับพระดินเผาประเภทอื่น ๆ ส่วนเนื้อหยาบก็มีปรากฏบ้างเหมือนกันแต่ส่วนมากจะเป็นหย่อม ๆ ของเนื้อ และมวลสารของเนื้อ เหล่านี้ทำให้เกิดความซึ้งตายิ่งนัก
ความนุ่ม เป็นคุณลักษณะของเนื้อที่สึกได้จากการพิจารณาด้วยนัยน์ตาเป็นส่วนใหญ่ และอาจใช้นิ้วมือสัมผัสก็ได้เช่นกัน เนื้อที่มีความนุ่มมากๆ มองดูจะเห็นความนุ่มของเนื้อไม่กระด้างนัยน์ตา นุ่มมือเล็กน้อย “ลองสัมผัสมือดูก็จะรู้สึกถึงความนุ่มได้“
 
ซึ่งทั้งนี้ มิใช่ว่า " พระสมเด็จฯที่สร้างออกมาจะมีการไปอยู่เรื่อยๆก็หาไม่แต่ทว่าที่สำ
คัญ ก็คือแบบพิมพ์ที่มาตรฐาน (จำแบบพิมพ์ของจริงไว้ให้แม่น) แต่พระนอกพิมพ์ถ้าไม่แม่นจริงควรหลีกเลี่ยงให้ไกล เพราะเท่ากับเป็นการหนีพระเก้ให้มากขึ้นดดยปลอดภัยโยขอให้ท่านจำแบบพิมพ์-เนื้อที่มาตรฐาน (ขอให้ดูพระสมเด็จฯแท้ๆจำให้ขึ้นใจ) เพื่อท่านจะได้พระสมเด็จแท้ไว้บูชา
 
๑. ความละเอียด โดยปกติเนื้อพระสมเด็จฯ จะมีลักษณะค่อนข้างละเอียดเพราะเป็นเนื้อปูนเปลือกหอยเผาแล้วนำมาตำจนละเอียด ส่วนเนื้อหยาบก็มีบ้างเหมือนกัน
ความนุ่ม เป็นคุณลักษณะของเนื้อที่รู้สึกได้จากนัยตา หรือใช้นิ้วมือสัมผัสก็สามารถรู้ได้ไม่ระคายกระด้างมือ ความจริงโครงสร้างภายไนของเนื้อ ย่อมมีความแข็งแกร่งแฝงอยู่เป็นอันมากเสมอ แต่จะมีความนุ่มเฉพาะบริเวณผิวๆเท่านั้น และความนุ่มนี้จะตรงกันข้ามกับความกระด้าง
๒. ความแกร่ง ลักษณะของความแกร่งที่เกิดจากมวลสารของปูนเปลือกหอยซึ่งจับตัวกันแข็งแกร่ง แต่มิได้หมายถีงความกระด้าง ทั้งนี้ของจริงๆนั้นในขณะที่เนื้อมีความแกร่ง แต่ผิวของเนื้อก็คงแขวงไปด้วยความนุ่มนวลนั่นเอง และผิวมองคล้ายกับผิวของกระเบื้องกังใส
๓. ความหนึก เป็นคุณสมบัติของความนุ่ม ความแกร่งน้ำหนักก็เป็นคุณสมบัติสำคัญของแท้ ส่วนของไม่แท้นั้นจะปราศจากความหนึกเพราะเนื้อพระยังไม่เก่าพอ ข้อสำคัญจะต้องหัดดูความเก่าให้แม่น แล้วท่านปลอดภัยกับพระปลอมที่ระบาดอยู่ทั่วไป
๔. ความฉ่ำ เป็นลักษณะที่ควบคู่กับความนุ่มเกิดจากเนื้อมีความนุ่มและเงาสว่าง แต่เนื้อประเภทแกร่งก็มีความฉ่ำเช่นเดียวกัน ถ้าเกิดเงากระจ่างเพราะถูกใช้มาพอสมควร
๕ ความซึ้ง เกิดจากเกิดจากมวลสารของเนื้อ อันผสมด้วยวัสดูซึ่งมีวรรณะต่างๆกันทำให้เกิดความซึ้งต่างๆกัน ทำให้เกิดความซึ้งภายในเนื้อพระขึ้นเช่นวรรณะหม่นๆของผงวิเศษและผงเกษรดอกไม้ต่างๆ
ซึ่งมีวรรณะหม่นๆ ย่อมตัดกับเนื้อนวลๆของกล้วยผสมกับปูนเปลือกหอย และวรรณะขาวนวล
ของแป้งโรยพิมพ์เป็นต้น
 
ความซึ้ง เกิดจากมวลสารของเนื้ออันผสมด้วยวัสดุซึ่งมีวรรณะต่างๆกันทำให้เกิดวรรณะหม่นๆ
ของผงวิเศษและ เกษรดอกไม้ต่างๆ ซึ่งมีวรรณะหม่นๆ ย่อมตัดกับเนื้อนวลๆ
ของก้วยผสมด้วยเนื้อปูน และวรรณะขาวนวลของแป้งโรยพิมพ์ ดังนี้เป็นต้น
 
การแตกรายงา เกิดจากการที่เนื้อถูกลงรักน้ำเกลี้ยงตอนทำเสร็จใหม่ๆและเนื้อพระยังไม่แห้งสนิทดี
เมื่อรักล่อนออกก็จะแตกรายงาอย่างละเอียด ของเนื้อด้านหน้า และด้านหลังจะไม่แตกลายงา
ล่องรอยการแตกรายงาจะต้องมีสีของรักติดฝังอยู่ในรอยลายงานั้นเสมอ เนื้อที่แตกรายงานั้นส่วนมากจะเป็นเนื้อแกร่งแต่ถ้าเป็นพระประเภคเนื้อหนึกนุ่ม ก็จะไม่แตกรายงา
หรือจะมีก็แค่เพียงรอยตื้นๆ ในบริเวรส่วนน้อยเท่านั้นแต่ถ้าเป็นเนื้อที่แห้งสนิทดีแล้วก็จะไม่แตกรายงาเช่นเดียวกันการแตกรายสังคะโลก เป็นการแตกลายที่ละเอียดและตื้นกว่าลายงาและส่วนมากจะแตกทางด้านหน้า ด้านหลังมีบ้างเหมือนกันเป็นส่วนน้อยและเป็นลายตื้นๆ การแตกลายงาชนิดนี้มิได้เกิดจากการทารักแต่เป็นการเกิดปฎิกิริยาของปูนเมื่อแข็งตัวความแห้งตัว
และความแข็งตัวของเนื้อพระไม่เท่ากันจึงแตกรานขึ้นมาและจะเกิดกับเนื้อประเภคแกร่งเท่านั้น
คาบแป้งโรย คือคาบผิวนวลๆ ที่เกิดจากพระที่ไม่ค่อยได้ใช้หรือเกิดจากการเอาพระสรงน้ำแล้วผึ่งให้ผิวแห้งเกิดได้ทั้งเนื้อแกร่งและเนื้อนุ่ม
 
ทรายเงินทรายทอง เป็นอนุภาคอันละเอียดผสมผสารอยู่ในเนื้อพระเป็นส่วนน้อยแต่สำหรับบางองค์ ก็จะบังเกิดอยู่ตามผิวถ้าใช้แว่นขยายส่องดูอย่างละเอียดโดยเฉพาะจะมีมากสำหรับเนื้อแกร่ง หรือเนื้อหนึกแกร่ง
 
พุทธคุณ จากกิตติศัพท์อันโด่งดังไปทั่วสารทิศทรงไว้ซึ่งความศักดิ์สิทธ์ของพระสมเด็จดังที่ได้กล่าวมาแล้วนั้นเป็นที่นิยม
ของมหาชนมาช้านาน ถึงกับมีการปลอมแปลง และเรียนแบบกันอย่างมากมายเลยทีเดียว ไม่น่าเชื่อก็ต้องเชื่อว่าทำไม สมเด็จพุฒาจารย์โตฯ ได้สร้างพระขึ้นด้วยเศษอิฐเศษปูนจากเปลือกหอยแท้ๆ แต่ผู้คนก็ยังนิยมกันนัก ชึ่งมีค่ามหาศาลเช่นนี้ และเมื่อเร็วๆนี้ก็ยังมีประมูลกันไปเป็นสิบล้านบาทเลยทีเดียว ถ้าใครได้มีพระสมแท้ๆไว้สักองค์ก็ขอให้นึกว่าตัวของเราเองมีอำนาจลึกลับคอยพิทักษ์รักษาอันตรายให้เราทุกโอกาส และชีวิตจะไม่มีการตกอับเป็นอันขาด ทั้งนี้ก็ขอให้เราปฎิบัติดีปกิบัติชอบในทางสุจริตไม่ผิดกฎหมายเท่านี้ก็พอ
การอาราธนาพระสมเด็จฯแลวิธีใช้พระสมเด็จ ก่อนอื่นให้เอาพระสมเด็จฯ ขึ้นพนมไว้บนฝ่ามือตั้งใจให้แน่วแน่อย่าให้วอกแวกแล้วระลึกถึงสมเด็จฯ ว่า"นะโมตัสสะภะคะวะโต
อะระหะโต สัมมาสัมพุทธัสสะ" (ว่า3หน)แล้วสวดพระคาถาดังต่อไปนี้ โอมศรี ศรี พรหมรังสีนามเต มหาเถรานุสโต
นะเมตตัง สุขัง อันตรายังวินาสสันติ ภวันตุเม ฯ และต่อจากนั้นให้สวดพระคาถาอันวิเศาสุดยอดของท่านเจ้าพระคุณสมเด็จฯ
กำกับลงไปอีกเพื่อเพิ่มความศักดสิทธิ์มากยิ่งขึ้นไปอีกดังต่อไปนี้ "ต้องขออภัยด้วยที่ตอ้องพิมพ์เป็นคำอ่านภาษาไทยเพื่อให้แก่คนรุ่นหลัง"
 
ชินปัญชรคาถา
ชะยาสะนากะตา พุทธาเชตะวา มารังสวาหะนัง จะตุสัจจาสะพังระสังเยปิวิงสุนะราสะภา
ตัณหังกะราทะโย พุทธา อัฎฐวีสสะตินายะกา สัพเพปติฎฐิตา มัยหัง มัตถะเกเต มุนิสสะรา สีเสปะติฎฐิโตมัยหัง พุทโธ ธัมโมทะวิโลจะเน สังโฆ ปะติฏฐิโต มัยหัง อุเรสัพพะคุณากะโร หะทะเยเม อะนุรุทโธ จะ สารีปุตโต จะทักขิเณ โกณฑัญโญ ปฏิฐิภาคัสสะมิง โมคคัลลาโน จะ วามะเก ทักขิเณ สะวะเน มัยหัง อาสุง อานันทะราหุโล กัสสะโป จะมหานาโม อุภาสุงวามะโสตะเก เกสะโตปะฏิฐิภาคัสสะมิง สุริโยวะ ปะภังกะโร นิสินโน สิริสัมปันโน โสภิโตมุนิปุงคะโว กุมาระกัสโป เถโร มเหสี จิตตะวา ทะโก โสมัยหังวะทะเน นิจจัง ปติฏฐาสิ คุณากะโร ปุณโณ อังคุลิมาโรจะ อุปาลี นันทะสีวะลี เถราปัญจะ อิเมชาตา นลาเตติ ละกามะมะ เสสาสีติมหาเถรา วิชิตาชินะสาวกา เอเตสีติ มหาเถราชิตะวันโต ชิโนระสาชะลันตาสีละเตเชนะ อังคะมังเคสุสัณฐิตา ระตะนังปุระโต อาสิ ทักขิเณเมตตะสุตตะกัง ธะชัคคังปัจฉะโตอาสิ วาเมอังคุลิมาละกัง ขันธะโมระปะริตตัญจะ อาฏานาฏิยะ สุตตะกังอากาเสฉะทะนัง อาสิ เสสาปาการะสัณฐิตา ชินานา วะระสังยุตตา สัตตัปปาการะลังกะตา วาตาปิตา ทิสัญชาตา พาหิรัช ฌัตตุปัททะวา อะเสสาวินะยังยันตุอะนันตะชินะเต ชะสา วะสะโตเมสะกิจเจนะ สะทาสัมพุทธะปัญชะเร ชินะปัญชะระมัชฌิมหิ วิหิรันตัง มหีตะเลสะทาปาเลนตุมัง สัพเพเตมะหาปุริสาสะภา อิจเจวะมันโต สุคุตโต สุรักโข ชินานุภาเวนะชิตุ ปัททะโว ธัมมานุภาเวนะ ชิตาริ สังโฆ สังฆานุภาเวนะ ชิตันตะราโย สัทธัมมานุภาวปาลิโตจะราม ิชินะปัญเรติ