ผลต่างระหว่างรุ่นของ "มะเร็งท่อน้ำดี"

เนื้อหาที่ลบ เนื้อหาที่เพิ่ม
Dolkungbighead (คุย | ส่วนร่วม)
Dolkungbighead (คุย | ส่วนร่วม)
บรรทัด 103:
=== การตรวจภาพของแขนงทางเดินน้ำดี ===
[[ไฟล์:ERCP cholangioca.jpg|thumb|225px|right|ภาพจาก ERCP ของผู้ป่วยมะเร็งท่อน้ำดี แสดงให้เห็นการตีบแคบของท่อน้ำดีร่วมและการขยายของส่วนต้นของท่อน้ำดี]]
แม้การถ่ายภาพรังสีของช่องท้องจะมีประโยชน์ในการช่วยการวินิจฉัยมะเร็งท่อน้ำดี แต่บ่อยครั้งการดูภาพของท่อน้ำดีโดยตรงก็มีความจำเป็น การสร้างภาพท่อน้ำดีและตับอ่อนด้วยการใช้กล้องส่องย้อน ([[endoscopic retrodrade cholangiopancreatography]], ERCP) ซึ่งเป็น[[การตรวจโดยการใช้กล้องส่องทางเดินอาหาร]]ทำโดย[[วิทยาทางเดินอาหาร|แพทย์ผู้เชี่ยวชาญระบบทางเดินอาหาร]]หรือศัลยแพทย์ที่ได้รับการฝึกฝนพิเศษ เป็นการตรวจที่ใช้กันทั่วไปเพื่อจุดประสงค์นี้ แม้ ERCP จะเป็นการตรวจที่ค่อนข้างรุกล้ำผู้ป่วยและมีความเสี่ยงอยู่ในระดับหนึ่ง แต่ผลดีที่มีคือทำให้สามารถ[[การตัดชิ้นเนื้อส่งตรวจทางพยาธิวิทยา|ตัดชิ้นเนื้อส่งตรวจทางพยาธิวิทยา]]ได้ สามารถวาง[[ท่อคงรูป]] (stent) ไว้เพื่อใช้ในวิธีการอื่นๆ เพื่อลดการอุดตันทางเดินน้ำดีได้<ref name="feldman"/> นอกจากนี้ยังสามารถทำการตรวจอัลตราซาวนด์ผ่านการส่องกล้อง ([[endoscopic ultrasound]]) ไปพร้อมกันด้วยได้เพื่อเพิ่มความแม่นยำของการตัดชิ้นเนื้อส่งตรวจทางพยาธิวิทยาและให้ข้อมูลเกี่ยวกับการแพร่กระจายมายังต่อมน้ำเหลืองและการประเมินว่าจะสามารถรักษาด้วยการผ่าตัดได้หรือไม่ด้วย<ref>{{cite journal |author=Sugiyama M, Hagi H, Atomi Y, Saito M |title=Diagnosis of portal venous invasion by pancreatobiliary carcinoma: value of endoscopic ultrasonography |journal=Abdom Imaging |volume=22 |issue=4 |pages=434–8 |year= 1997|pmid=9157867 |doi=10.1007/s002619900227}}</ref> นอกจากการใช้ ERCP แล้วยังมีการใช้การสร้างภาพท่อน้ำดีด้วยการเจาะผ่านผิวหนังและตับ ([[percutaneous transhepatic cholangiography]], PTC) ได้ การสร้างภาพทางเดินน้ำดีและตับอ่อนด้วยเรโซแนนซ์แม่แหล็กแนนซ์แม่เหล็ก ([[magnetic resonance cholangiopancreatography]], MRCP) ก็เป็นอีกวิธีหนึ่งที่ไม่ทำให้การรุกล้ำผู้ป่วยซึ่งใช้แทน ERCP ได้<ref>{{cite journal |author=Schwartz L, Coakley F, Sun Y, Blumgart L, Fong Y, Panicek D |title=Neoplastic pancreaticobiliary duct obstruction: evaluation with breath-hold MR cholangiopancreatography |journal=AJR Am J Roentgenol |volume=170 |issue=6 |pages=1491–5 |year=1998 |pmid=9609160}}</ref><ref>{{cite journal |author=Zidi S, Prat F, Le Guen O, Rondeau Y, Pelletier G |title=Performance characteristics of magnetic resonance cholangiography in the staging of malignant hilar strictures |journal=Gut |volume=46 |issue=1 |pages=103–6 |year=2000 |pmid=10601064 |doi=10.1136/gut.46.1.103}}</ref><ref>{{cite journal |author=Lee M, Park K, Shin Y, Yoon H, Sung K, Kim M, Lee S, Kang E |title=Preoperative evaluation of hilar cholangiocarcinoma with contrast-enhanced three-dimensional fast imaging with steady-state precession magnetic resonance angiography: comparison with intraarterial digital subtraction angiography |journal=World J Surg |volume=27 |issue=3 |pages=278–83 |year=2003 |pmid=12607051 |doi=10.1007/s00268-002-6701-1}}</ref> ผู้เชี่ยวชาญบางท่านเสนอว่าควรใช้ MRCP แทน ERCP ในการวินิจฉัยมะเร็งท่อน้ำดี เนื่องจากสามารถแสดงให้เห็นขอบเขตของเนื้องอกได้แม่นยำกว่าและลดความเสี่ยงที่เกิดจากการใช้ ERCP ด้วย<ref>{{cite journal |author=Yeh T, Jan Y, Tseng J, Chiu C, Chen T, Hwang T, Chen M |title=Malignant perihilar biliary obstruction: magnetic resonance cholangiopancreatographic findings |journal=Am J Gastroenterol |volume=95 |issue=2 |pages=432–40 |year=2000 |pmid=10685746 |doi=10.1111/j.1572-0241.2000.01763.x}}</ref><ref>{{cite journal |author=Freeman M, Sielaff T |title=A modern approach to malignant hilar biliary obstruction |journal=Rev Gastroenterol Disord |volume=3 |issue=4 |pages=187–201 |year=2003 |pmid=14668691}}</ref><ref>{{cite journal |author=Szklaruk J, Tamm E, Charnsangavej C |title=Preoperative imaging of biliary tract cancers |journal=Surg Oncol Clin N Am |volume=11 |issue=4 |pages=865–76 |year=2002 |pmid=12607576 |doi=10.1016/S1055-3207 (02) 00032-7}}</ref>
 
=== การผ่าตัด ===