ผลต่างระหว่างรุ่นของ "มะเร็งท่อน้ำดี"

เนื้อหาที่ลบ เนื้อหาที่เพิ่ม
Dolkungbighead (คุย | ส่วนร่วม)
Dolkungbighead (คุย | ส่วนร่วม)
บรรทัด 85:
มะเร็งท่อน้ำดีอาจเกิดกับท่อน้ำดีตรงส่วนใดก็ได้ ทั้งในและนอกตับ เนื้องอกที่เกิดในท่อน้ำดีในตับจะถูกเรียกเป็นชนิด "ในตับ" (intrahepatic) ส่วนที่เกิดกับท่อน้ำดีนอกตับเรียก "นอกตับ" (extrahepatic) และเนื้องอกที่เกิดกับตำแหน่งที่ท่อน้ำดีออกจากตับพอดีเรียกเพอริไฮลาร์ (perihilar) มะเร็งท่อน้ำดีที่เกิดขึ้นที่ตำแหน่งที่[[ท่อตับ]]ข้างซ้ายและข้างขวามารวมกันเป็น[[ท่อน้ำดีร่วม]]นั้นอาจเรียกว่า[[เนื้องอกคลาตสกิน]] (Klatskin tumor) <ref>{{cite journal |author=KLATSKIN G |title=Adenocarcinoma Of The Hepatic Duct At Its Bifurcation Within The Porta Hepatis. An Unusual Tumor With Distinctive Clinical And Pathological Features |journal=Am J Med |volume=38 |issue= |pages=241–56 |year= 1965|pmid=14256720 |doi=10.1016/0002-9343 (65) 90178-6}}</ref>
 
แม้จะเป็นที่ทราบกันดีว่ามะเร็งท่อน้ำดีเป็นอะดีโนคาร์ซิโนมาของเซลล์เยื่อบุผิวทางเดินน้ำดี แต่ก็ยังไม่เป็นที่ทราบชัดเจนว่าเซลล์ต้นกำเนิดคือเซลล์ใด แม้หลักฐานใหม่ๆ ชี้ว่าอาจมีเซลล์ต้นกำเนิดเป็น[[สเต็มเซลล์หลายสรรพคุณ]]ในตับ (pluripotent hepatic stem cell) ก็ตาม<ref>{{cite journal |author=Roskams T |title=Liver stem cells and their implication in hepatocellular and cholangiocarcinoma |journal=Oncogene |volume=25 |issue=27 |pages=3818–22 |year=2006 |pmid=16799623 |doi=10.1038/sj.onc.1209558}}</ref><ref>{{cite journal |author=Liu C, Wang J, Ou Q |title=Possible stem cell origin of human cholangiocarcinoma |journal=World J Gastroenterol |volume=10 |issue=22 |pages=3374–6 |year=2004 |pmid=15484322}}</ref><ref>{{cite journal |author=Sell S, Dunsford H |title=Evidence for the stem cell origin of hepatocellular carcinoma and cholangiocarcinoma |journal=Am J Pathol |volume=134 |issue=6 |pages=1347–63 |year=1989 |pmid=2474256}}</ref> เชื่อกันว่ามะเร็งท่อน้ำดีเกิดขึ้นได้จากการเกิดมะเร็งหลายระยะ ตั้งแต่มี[[การเจริญเกิน]] (hyperplasia) ในช่วงแรก กลายเป็นเมตาเพลเชีย ([[metaplasia]]) และเป็น[[การเจริญผิดปรกติ]] (dysplasia) และเกิดเป็น[[มะเร็ง]]ขึ้นในที่สุด ซึ่งเป็นกระบวนการที่ใกล้เคียงกับที่เกิดในการเกิด[[มะเร็งลำไส้ใหญ่]]<ref name="targeting">{{cite journal |author=Sirica A |title=Cholangiocarcinoma: molecular targeting strategies for chemoprevention and therapy |journal=Hepatology |volume=41 |issue=1 |pages=5–15 |year=2005 |pmid=15690474 |doi=10.1002/hep.20537}}</ref> และเชื่อว่าการอักเสบเรื้อรังของท่อน้ำดี การอุดตันท่อน้ำดี และการมีน้ำดีคั่ง อาจมีส่วนในการเปลี่ยนแปลงเหล่านี้<ref name="targeting"/><ref>{{cite journal |author=Holzinger F, Z'graggen K, Büchler M |title=Mechanisms of biliary carcinogenesis: a pathogenetic multi-stage cascade towards cholangiocarcinoma |journal=Ann Oncol |volume=10 Suppl 4 |issue= |pages=122–6 |year= |pmid=10436802}}</ref><ref>{{cite journal |author=Gores G |title=Cholangiocarcinoma: current concepts and insights |journal=Hepatology |volume=37 |issue=5 |pages=961–9 |year=2003 |pmid=12717374 |doi=10.1053/jhep.2003.50200}}</ref>
 
ทาง[[มิญชวิทยา]]พบว่าเซลล์มะเร็งท่อน้ำดีมีความแตกต่างทาง[[การเปลี่ยนสภาพของเซลล์]] (cell differentiation) ตั้งแต่ดี (well) ไปจนถึงแย่ (undifferentiated) ส่วนใหญ่ถูกล้อมรอบด้วยการตอบสนองแบบมีเนื้อเยื่อ[[พังผืด]] (fibrotic tissue) และเนื้อเยื่อเดสโมพลาสติก ([[desmoplastic]] tissue) หากมีเนื้อเยื่อพังผืดมากอาจทำให้แยกเซลล์มะเร็งท่อน้ำดีที่มีการเปลี่ยนสภาพของเซลล์ดีออกจากเซลล์เนื้อเยื่อบุผิวที่ถูกกระตุ้น (reactive epithelium) ไม่ได้ ยังไม่มีสารย้อมทาง[[อิมมูโนฮิสโตเคมิสทรี]] (immunohistochemistry) ตัวใดที่สามารถแยกเนื้อเยื่อท่อน้ำดีที่เป็นเนื้อร้ายออกจากเนื้อไม่ร้ายได้ แม้จะมีการย้อมสาร[[ไซโตเคราติน]] (cytokeratin) [[คาร์ซิโนเอมบริโอนิกแอนติเจน]] และ[[มิวซิน]]ที่อาจช่วยในการวินิจฉัยได้บ้างก็ตาม<ref name="nejm">{{cite journal |author=de Groen P, Gores G, LaRusso N, Gunderson L, Nagorney D |title=Biliary tract cancers |journal=N Engl J Med |volume=341 |issue=18 |pages=1368–78 |year=1999 |pmid=10536130 |doi=10.1056/NEJM199910283411807}}</ref> เนื้องอกส่วนใหญ่ (>90%) เป็น[[มะเร็งชนิดต่อม]]<ref name=autogenerated1 />