ผลต่างระหว่างรุ่นของ "วิกฤตการเงิน ค.ศ. 1907"

เนื้อหาที่ลบ เนื้อหาที่เพิ่ม
Nini (คุย | ส่วนร่วม)
Nini (คุย | ส่วนร่วม)
บรรทัด 17:
 
== ความตื่นตระหนก ==
{| class="infobox" style="float:right; clear:right; margin-left:1em; margin-right:0em; font-size:90%; width:230pt;"
!style="background:#DCDCDC;" colspan="2"|ลำดับเหตุการณ์ของวิกฤต<br>ในนครนิวยอร์ก<ref>Distilled from {{Harvnb|Bruner|Carr|2007}}</ref>
|-
!style="background:#000000;" colspan="2"|
|-
!width="220pt"|วันจันทร์ที่ 14 ตุลาคม
|-
|ออตโต ไฮนซ์ เริ่มซื้อหุ้นของยูไนเต็ด คอปเปอร์เพื่อควบคุมตลาด
|-
! วันพุธที่ 16 ตุลาคม
|-
| การควบคุมตลาดของไฮนซ์ล้มเหลวอย่างไม่คาดฝัน กรอสแอนด์คลีเบิร์ก บริษัทนายหน้าของไฮนซ์ถูกปิดกิจการ วันนี้เป็นวันที่ถูกเรียกว่าวันที่การควบคุมตลาดพลาด
|-
! วันพฤหัสบดีที่ 17 ตุลาคม
|-
| ตลาดหลักทรัพย์สั่งห้ามออตโต ไฮนซ์ แอนด์คอมพานีซื้อขาย ธนาคารออมทรัพย์แห่งบัตต์ รัฐมอนแทนา ซึ่งเป็นของออกุสตุส ไฮนซ์ ประกาศว่าไม่สามารถชำระหนี้ได้ ออกุสตุสถูกบังคับให้ลาออกจากธนาคารแห่งชาติเมอร์แคนทีล ผู้คนเริ่มแห่ถอนเงินออกจากธนาคารของออกุสตุสและชาลส์ ดับบลิว. มอส ผู้สมคบคิดกับเขา
|-
! วันอาทิตย์ที่ 20 ตุลาคม
|-
| สำนักหักบัญชีแห่งนิวยอร์กบังคับให้ออกุสตุสและมอสลาออกจากตำแหน่งที่เกี่ยวข้องกับธนาคารทั้งหมด
|-
! วันจันทร์ที่ 21 ตุลาคม
|-
| [[ชาลส์ ที. บาร์นี]] ถูกบังคับให้ลาออกจาก[[นิกเกอร์บอกเกอร์ทรัสต์]] เพราะเขามีความเชื่อมโยงกับมอสและไฮนซ์ [[ธนาคารพาณิชย์แห่งชาติ (เมืองแคนซัส)]] ประกาศว่าจะไม่ทำหน้าที่หักบัญชีให้นิกเกอร์บอกเกอร์
|-
! วันอังคารที่ 22 ตุลาคม
|-
| ประชาชนแห่ถอนเงินจนนิกเกอร์บอกเกอร์ต้องหยุดให้บริการ
|-
! วันพุธที่ 23 ตุลาคม
|-
| [[เจ.พี.มอร์แกน]] โน้มน้าวให้ประธานบริษัททรัสต์อื่น ๆ ช่วยเพิ่มสภาพคล่องให้กับบริษัททรัสต์แห่งอเมริกาทำให้รอดพ้นจากวิกฤตไปได้
|-
! วันพฤหัสบดีที่ 24 ตุลาคม
|-
|[[จอร์จ บี. คอร์เทลยู]] [[รัฐมนตรีกระทรวงการคลังสหรัฐอเมริกา]] ตกลงฝากเงินของรัฐเข้าไปในธนาคารในนิวยอร์ก มอร์แกนชักจูงให้ประธานธนาคารต่าง ๆ นำเงิน 23 ล้านเหรียญมาหมุนเวียนในตลาดหุ้นนิวยอร์กและช่วยให้ตลาดหุ้นไม่ต้องปิดก่อนเวลาได้
|-
! วันศุกร์ที่ 25 ตุลาคม
|-
| ตลาดหุ้นสามารถรอดพ้นวิกฤตได้อย่างหวุดหวิดไปอีกวัน
|-
! วันอาทิตย์ที่ 27 ตุลาคม
|-
|[[เมืองนิวยอร์ก]]แจ้ง[[จอร์จ เพอร์กินส์]] เพื่อนของมอร์แกน ว่าถ้าเขาไม่สามารถรวบรวมเงิน 20-30 ล้านเหรียญได้ภายในวันที่ 1 พฤศจิกายน เมืองจะล้มละลาย
|-
! วันอังคารที่ 29 ตุลาคม
|-
| มอร์แกนซื้อพันธบัตรของเมืองนิวยอร์กมูลค่า 30 ล้านเหรียญเพื่อช่วยอุ้มไม่ให้เมืองล้มละลาย
|-
! วันเสาร์ที่ 2 พฤศจิกายน
|-
| Moore & Schley, a major brokerage, nears collapse because its loans were backed by the [[Tennessee Coal, Iron & Railroad Company]] (TC&I), a stock whose value is uncertain. A proposal is made for [[U.S. Steel]] to purchase TC&I.
|-
! วันอาทิตย์ที่ 3 พฤศจิกายน
|-
| A plan is finalized for U.S. Steel to take over TC&I.
|-
! วันจันทร์ที่ 4 พฤศจิกายน
|-
| President [[Theodore Roosevelt]] approves U.S. Steel's takeover of TC&I, despite anticompetitive concerns.
|-
! วันอังคารที่ 5 พฤศจิกายน
|-
| Markets are closed for [[Election Day (United States)|Election Day]].
|-
! วันพุธที่ 6 พฤศจิกายน
|-
| U.S. Steel completes takeover of TC&I. Markets begin to recover. Destabilizing runs at the trust companies do not begin again.
|}
 
=== ควบคุมหุ้นทองแดง ===
ความตื่นตระหนกในปี 1907 นี้เริ่มต้นจากแผนการของ[[เอฟ. ออกุสตุส ไฮนส์]]ที่จะ[[ควบคุมตลาด|ควบคุม]]หุ้นของ[[ยูไนเต็ดคอปเปอร์คัมพานี]]เพื่อปั่นราคาในตลาด ไฮนส์เป็นเศรษฐีผู้ประสบความสำเร็จในธุรกิจทองแดงในบัตต์ [[รัฐมอนแทนา]] ในปี 1906 เขาย้ายมาที่นิวยอร์กและเริ่มสนิทกับ[[ชาลส์ ดับบลิว มอส]] นายธนาคารผู้มีชื่อเสียงในด้านลบ มอสเคยประสบความสำเร็จในการกำไรจากการคุมราคาน้ำแข็งของนิวยอร์ก และมีอำนาจในธนาคารหลายแห่งร่วมกับไฮนซ์ ทั้งคู่มีตำแหน่งใน[[ธนาคารแห่งชาติ]] 6 แห่ง [[ธนาคารแห่งรัฐ]] 10 แห่ง [[บริษัททรัสต์]] 5 รัฐ และ[[บริษัทประกัน]] 4 แห่ง เป็นอย่างน้อย<ref>{{Harvnb|Bruner|Carr|2007|pp=38–40}}</ref>