ผลต่างระหว่างรุ่นของ "ตำนานแทงข้างหลัง"

เนื้อหาที่ลบ เนื้อหาที่เพิ่ม
Horus (คุย | ส่วนร่วม)
Horus (คุย | ส่วนร่วม)
บรรทัด 32:
<blockquote style="margin::1em;">''มัลคอล์มถามเขาว่า "ท่านนายพล คุณหมายความว่า คุณถูกแทงข้างหลังงั้นหรือ" ดวงตาของลูเดนดอร์ฟฟ์สว่างขึ้น และเขากระโจนหาวลีนั้นเหมือนสุนัขกับกระดูก "ถูกแทงข้างหลัง?" เขาย้ำ "ใช่ นั่นแหละ แน่นอน เราถูกแทงข้างหลัง" และนั่นจึงถือกำเนิดตำนานซึ่งไม่เคยตายหมดสิ้น''<ref>{{cite journal | url=http://www.vqronline.org/articles/1938/spring/wheelerbennett-ludendorff-soldier/ | title=Ludendorff: The Soldier and the Politician | author=John W. Wheeler-Bennett | journal=The Virginia Quarterly Review | year=1938 | month=Spring | volume=14 | issue=2 | pages=187–202}}</ref></blockquote>
 
นั้นสามารถระบุได้ว่าอยู่ในช่วงกลาง ค.ศ. 1919 ขณะที่พลเอกลูเดนดรอฟรับประทานอาหารกลางวันร่วมกับพลเอกอังกฤษ เซอร์ นีล มัลคอม ซึ่งเขาได้ถามลูเดนดรอฟถึงสาเหตุที่คาดว่าเยอรมนีจะเป็นฝ่ายพ่ายแพ้สงครามโลกครั้งที่หนึ่ง ลูเดนดรอฟได้ตอบโดยอ้างเหตุผลจากสิ่งที่เขาได้ฟังมาหลายอย่าง หนึ่งในนั้นคือการยกเอาประเด็นของตนที่เกี่ยวข้องกับแนวหลังขึ้นมาพูดถึง เซอร์มัลคอมจึงกล่าวว่า ''"ฟังดูเหมือนท่านจะถูกแทงข้างหลังใช่ไหม"'' ประโยคดังกล่าวได้สร้างความเป็นที่ถูกใจให้กับลูเดนดรอฟเป็นอย่างมากลูเดนดรอฟอย่างมาก เขาได้เผยแพร่ประโยคนี้ให้กับเหล่ากองเสนาธิการทหารโดยกล่าวว่านี่เป็นแนวคิดที่ "เป็นทางการ" ก่อนที่ต่อมาคำนี้จะกระจายไปสู่สังคมเยอรมนีทุกภาคส่วน แนวคิดนี้ได้ถูกพรรคการเมืองฝ่ายขวาทั้งหลายหยิบยกมาเป็นประเด็นเพื่อโจมตีรัฐบาลของสาธารณรัฐไวมาร์ภายใต้การนำของพรรคเอสพีดี นับตั้งแต่การขึ้นสู่เถลิงอำนาจภายหลังหลัง[[การปฏิวัติเยอรมนี]] ในเดือนพฤศจิกายน ค.ศ. 1918
 
ในเดือนพฤศจิกายน ค.ศ. 1919 สมาชิกสมัชชาแห่งรัฐสภาไวมาร์ได้แต่งตั้งชุด ''Untersuchungsausschuß für Schuldfragen'' ขึ้นเพื่อสืบหาสาเหตุของสงครามโลกและปัจจัยที่นำไปสู่ความพ่ายแพ้ของเยอรมนี ในวันที่ [[18 พฤศจิกายน]] จอมพลฮินเดนเบิร์กได้ให้การยืนยันต่อหน้าคณะกรรมการของรัฐสภา และได้มีการกล่าวอ้างถึงบทความ ''Neue Zürcher Zeitung'' ในวันที่ [[17 ธันวาคม]] ค.ศ. 1918 ซึ่งเป็นการสรุปบทความสองบทความก่อนหน้านั้นใน[[เดย์ลี่ เมล์]] ที่เขียนโดยนายพลชาวอังกฤษ [[เฟรเดอริก บาร์ตัน เมาไรซ์]] ด้วยประโยคที่ว่า กองทัพเยอรมันถูก "แทงข้างหลังโดยพลเมืองชาวเยอรมันเอง" (เมาไรซ์ปฏิเสธในภายหลังว่าเขาไม่ได้กล่าวถึงแนวคิดนี้แต่อย่างใด) การให้ปากคำของฮินเดนเบิร์กนี้เองที่ทำให้แนวคิดดังกล่าวแพร่กระจายไปกว้างขวางในเยอรมนีภายหลังสงครามโลกครั้งที่หนึ่ง
 
ส่วนทางด้านริชาร์ด สไตกมันน์-กัลล์ กล่าวว่า ตำนานแทงข้างหลังสามารถย้อนรอยไปจนถึงการเทศนาของอนุศาสนาจารย์ บรูโน เดอริง (Bruno Doehring) เมื่อวันที่ 3 กุมภาพันธ์ ค.ศ. 1918 หกเดือนก่อนสงครามยุติ<ref>[[Richard Steigmann-Gall]], ''The Holy Reich: Nazi Conceptions of Christianity, 1919–1945'' (Cambridge: [[Cambridge University Press]], 2003) p. 16</ref> บอริส บาร์ท นักวิชาการชาวเยอรมัน มีความเห็นแย้งกับแนวคิดของสไตกมันน์ โดยกล่าวว่า เดอริงไม่ได้ใช้คำว่า "แทงข้างหลัง" แต่อย่างใด เพียงแต่กล่าวถึงการทรยศเท่านั้น<ref>Boris Barth, ''Dolchstoßlegenden und politische Disintegration: Das Trauma der deutschen Niederlage im Ersten Weltkrieg, 1914-1933'' (Düsseldorf: Droste, 2003), 167 and 340f. Barth says Doehring was an army chaplain, not a court chaplain. The following references to Barth are on pages 148 (Müller-Meiningen), and 324 (NZZ article, with a discussion of the Ludendorff-Malcolm conversation).</ref> บาร์ทเขียนเอกสารที่กล่าวถึงตำนานแทงข้างหลังครั้งแรกในบันทึกการประชุมของพรรคการเมืองสายกลางในมิวนิก เลอเวนบรอย-เคลเลอร์ เมื่อวันที่ 2 พฤศจิกายน 1918 ซึ่งเอิร์สต์ มึลเลอร์ ไมนิงเกน สมาชิกของรัฐบาลผสมชุดใหม่แห่งรัฐสภา[[ไรช์สทัก]] ได้ใช้คำดังกล่าวเพื่อปลุกใจให้ผู้ฟังมีความรู้สึกฮึกเหิม
 
<blockquote style="margin::1em;">''เมื่อการรบในแนวหน้าดำเนินไป พวกเราทุกคนซึ่งมีหน้าที่ที่จะรักษาบ้านเกิดเมืองนอนเอาไว้นั้นควรจะมีความละอายในแก่ตนเองต่อหน้าลูกและหลานลูกหลานของเราหากว่าเราโจมตีทหารในแนวหน้าจากข้างหลังโดยการแทงมีด (wenn wir der Front in den Rücken fielen und ihr den Dolchstoss versetzten.)''</blockquote>
 
บาร์ทได้แสดงให้เห็นอีกว่า คำดังกล่าวเป็นที่นิยมมากในหนังสือพิมพ์เยอรมันฉบับหนึ่งซึ่งมีเนื้อหาแสดงความรักชาติที่ชื่อ ''Deutsche Tageszeitung'' ที่มีการหยิบยกเอาบทความ ''Neue Zürcher'' ซึ่งเป็นคำตอบของฮินเดนเบิร์กต่อหน้าคณะกรรมการไต่สวนของรัฐสภามากล่าวอ้างอยู่บ่อยครั้ง