ผลต่างระหว่างรุ่นของ "ตำนานแทงข้างหลัง"

เนื้อหาที่ลบ เนื้อหาที่เพิ่ม
Horus (คุย | ส่วนร่วม)
Horus (คุย | ส่วนร่วม)
บรรทัด 14:
 
=== ปฏิกิริยาหลังสงครามและผลกระทบ ===
[[ไฟล์:1920 poster 12000 Jewish soldiers KIA for the fatherland.jpg|thumb|right|200px|"ทหารยิว 12,000 นายเสียชีวิตในสมรภูมิเกียรติยศเพื่อปิตุภูมิ" ใบปลิวซึ่งตีพิมพ์ในปี [[ค.ศ. 1920]] โดยทหารผ่านศึกชาวยิวเยอรมันยิวเพื่อโต้แย้งในกรณีที่มี ตอบโต้การกล่าวหาว่าการขาดความรักชาติ ข้อความในใบปลิวกล่าว่า ''"ทหารชาวยิวกว่า 12,000 นายเสียชีวิตเหนือทุ่งเกียรติยศแห่งปิตุภูมิ"'']]
พวกอนุรักษนิยม ชาตินิยมและอดีตผู้นำทางทหารเริ่มวิพากษ์พูดวิจารณ์เกี่ยวกับสันติภาพกับนักการเมืองของสาธารณรัฐไวมาร์ พวกสังคมนิยม พวก[[คอมมิวนิสต์]] และชาว[[ยิว]] และบางครั้งรวมถึงคาทอลิก ซึ่งถูกมองว่ามีพิรุธเกี่ยวกับการทึกทักเอาเองว่าตนมีความจงรักภักดีต่อชาติเป็นพิเศษ ได้มีการกล่าวอ้างว่าพวกเขาไม่ได้เป็นผู้สนับสนุนสงครามและมีส่วนในการขายชาติเยอรมนีให้กับฝ่ายศัตรูข้าศึก ซึ่งกลุ่มบุคคลดังกล่าว หรือที่เรียกกันว่า ''"อาชญากรเดือนพฤศจิกายน"''เหล่านี้ ซึ่งเป็นหรือผู้ที่ราวกับได้รับประโยชน์จากการก่อตั้ง[[สาธารณรัฐไวมาร์]]ขึ้นมาที่เพิ่งก่อตั้งใหม่ ถูกมองอีกว่าเป็นผู้ที่ "ลอบแทงพวกเขาจากข้างหลัง" จากทาง[[แนวหลัง]]ที่แนวหน้า ไม่ว่าจะโดยวิพากษ์การวิจารณ์ถึงความเป็นชาตินิยมของชาวเยอรมัน การกระตุ้นให้เกิดการก่อยุยงความไม่สงบและการจลาจลประท้วงในอุตสาหกรรรมทางอุตสาหกรรมทหารที่สำคัญหรือไม่ก็มีการฉวยโอกาสค้ากำไรเกินควร โดยที่ใจความหลักของสำคัญ การกล่าวหามีว่า นั่นคือ [[คนเหล่านี้กบฏ|การก่อกบฎ]] เพื่อต่อต้านต่ออุดมการณ์ร่วมที่ "ความเมตตากรุณากุศลและคุณธรรมชอบธรรม" เป็นสาเหตุหลัก ซึ่งทฤษฎีดังกล่าวได้อ้างถึงหลักฐานที่เหล่านี้ได้รับการยอมรับโดยอาศัยความจริงจากข้อเท็จจริงที่ว่า เมื่อเยอรมนียอมจำนนเมื่อในเดือนพฤศจิกายน ค.ศ. 1918 กองทัพเยอรมันยังคงประจำอยู่ในดินแดนของฝรั่งเศสและเบลเยี่ยมเบลเยียม ซึ่งเบอร์ลินยังอยู่ห่างจากกรุงเบอร์ลินกว่าแนวรบที่ใกล้ที่สุด 450 ไมล์ นอกจากนั้น ทหารที่กลับและกองทัพเยอรมันถอนตัวจากการรบก็ยังคงสมรภูมิอย่างเป็นระเบียบอันดีอยู่
 
กองทัพฝ่ายพันธมิตรได้รับเสบียงจากสหรัฐอเมริกาเป็นจำนวนมาก และยังมีกองทัพที่พร้อมรบ แต่กองทัพอังกฤษและฝรั่งเศสอ่อนเปลี้ยจากสภาวะสงครามจนไม่อาจจะรุกรานเข้าไปยังดินแดนเยอรมนีได้โดยไม่คำนึงถึงผลกระทบที่ตามมาในภายหลัง ไม่มีกองทัพพันธมิตรกองใดสามารถตีฝ่าแนวรบของเยอรมนีทางด้าน[[แนรบด้านตะวันตก (สงครามโลกครั้งที่หนึ่ง)|ตะวันตก]] และทางด้าน[[แนวรบด้านตะวันออก (สงครามโลกครั้งที่หนึ่ง)|แนวรบด้านตะวันออก]] กองทัพเยอรมันได้ชัยชนะเหนือ[[จักรวรรดิรัสเซีย]] ซึ่งยุติลงด้วย[[สนธิสัญญาเบรสต์-ลีตอฟสก์]] ทางด้านตะวันตก กองทัพเยอรมันเกือบจะได้รับชัยชนะจาก[[การรุกฤดูใบไม้ผลิ]] แต่กองทัพเยรมันก็พ่ายแพ้ในเวลาต่อมา ซึ่งแนวคิดการลอบแทงข้างหลังมีส่วนทำให้เกิดความพ่ายแพ้นี้ สิ่งที่เป็นสาเหตุที่นำไปสู่ความพ่ายแพ้ของกองทัพเยอรมัน นั่นก็คือ การที่คนงานในอุตสาหกรรมผลิตอาวุธก่อการประท้วงหยุดงานในช่วงเวลาที่การรบติดพัน ทำให้ทหารไม่มี[[อาวุธยุทโธปกรณ์]]ในการสู้รบ การก่อการประท้วงดังกล่าวถูกมองว่าเกิดจากการยุยงส่งเสริมจากผู้ที่มีความคิดเป็นกบฎ โดยชาวยิวถูกประณามมากที่สุด ซึ่งเป็นการมองข้ามสภาพทางยุทธศาสตร์ของเยอรมนีและละเลยความพยายามในการทำการรบของทหารในแนวหน้า ตั้งแต่ได้มีการทำสงครามในรูปแบบใหม่ที่มีผู้เป็นปฏิปักษ์ต่อผู้ทำสงครามได้เข้าร่วมต่อสู้ด้วย และ[[เศรษฐกิจสงคราม]]ได้ทำให้มนุษยธรรมในยามสงครามยิ่งลดลงไปอีก และทำให้เยอรมนีประสบกับสภาพพ่ายแพ้รูปแบบใหม่หลังจาก[[สงครามเบ็ดเสร็จ]]เกิดขึ้น