ผลต่างระหว่างรุ่นของ "ตำนานแทงข้างหลัง"

เนื้อหาที่ลบ เนื้อหาที่เพิ่ม
Horus (คุย | ส่วนร่วม)
ไม่มีความย่อการแก้ไข
Horus (คุย | ส่วนร่วม)
บรรทัด 8:
นักวิชาการทั้งในและนอกประเทศเยอรมนีปฏิเสธแนวคิดดังกล่าวอย่างเป็นเอกฉันท์ โดยชี้ว่า กองทัพเยอรมันขาดกองหนุนและกำลังถูกเอาชนะในปลาย ค.ศ. 1918<ref>Alexander Watson, ''Enduring the Great War: Combat, Morale and Collapse in the German and British Armies, 1914–1918'' (Cambridge Military Histories, 2008) ch 6</ref>
 
== แนวคิด ==
== ตัวกระตุ้น ==
แก่นของตำนานแทงข้างหลังถูกกล่าวถึงอย่างชัดเจนที่สุดโดย พลเอก อีริช ลูเดนดอร์ฟฟ์ หนึ่งในสองผู้บัญชาการสูงสุดของเยอรมนี ใน ค.ศ. 1919 เขาประณามรัฐบาลเบอร์ลินและประชากรพลเรือนแก่การสงบศึก/ยอมจำนนในเดือนพฤศจิกายน ค.ศ. 1918 โดยพูดว่า ทั้งสองต่างล้มเหลวที่จะสนับสนุนเขา ทำให้เขาผิดหวัง และได้พิสูจน์ตนเองแล้วว่า ไม่คู่ควรกับประเพณีของชาตินักรบ เขาทำให้ระบบคำศัพท์ดอลช์สทอสส์ (Dolchstoß terminology) แพร่หลาย และกลายเป็นผู้นำฝ่ายขวาที่โดดเด่นในคริสต์ทศวรรษ 1920<ref>Lindley Fraser, ''Germany between Two Wars: A Study of Propaganda and War-Guilt'' (Oxford University Press, 1945) p. 16 </ref>
 
ปฏิกิริยาของประชาชนเยอรมันต่อ[[สนธิสัญญาแวร์ซาย]] ค.ศ. 1919 นั้นเป็นการคัดค้านอย่างสูง ด้วยผลแห่งสนธิสัญญาฯ ดินแดนของเยอรมนีถูกตัดไปราว 13% เชื้อชาติเยอรมันหลายล้านคนอยู่ถูกต่างชาติปกครอง, แม้พวกเขาจะเป็นคนส่วนใหญ่ในพื้นที่เหล่านี้จำนวนมาก, ไรน์แลนด์ทำให้ปลอดทหาร และทหารสัมพันธมิตรยึดครองในหลายพื้นที่ นอกจากนี้ ยังบังคับให้จ่าย[[ค่าปฏิกรรมสงครามโลกครั้งที่หนึ่ง|ค่าปฏิกรรมสงคราม]]มหาศาลภายในเวลา 70 ปี แม้จะยุติลงใน ค.ศ. 1931 (ก่อนจะกลับมาจ่ายอีกหลัง[[สงครามโลกครั้งที่สอง]]) ส่วนสำคัญที่สุดของสนธิสัญญาที่เกี่ยวข้องกับตำนานแทงข้างหลัง คือ "อนุประโยคความรับผิดในอาชญากรรมสงคราม" ซึ่งบังคับให้เยอรมนียอมรับความรับผิดชอบแก่ความเป็นปรปักษ์ทั้งหมด
=== มุมมองของสงคราม วิญญาณแห่งปี 1914 ===
 
การปะทุของ[[สงครามโลกครั้งที่หนึ่ง]]ได้ลบเอาความแตกต่างทางการเมืองหลายอย่างที่มีในสังคมของราชวงศ์เยอรมนีที่ผ่านมา ฝูงชนจากทุกชนชั้นทางสังคม ชนชั้นทางการเมืองและกลุ่มทางศาสนาได้รวมตัวกันเพื่อฟังข่าวคราวของสงคราม และเหล่าฝูงชนที่ปลาบปลื้มก็ได้ออกมาเฉลิมฉลองกันในที่สาธารณะ เกียรติภูมิของชาติได้แสดงให้เห็นถึงขีดความสามารถของมัน ดังที่ประชาชนชาวเยอรมันมีความเป็นน้ำหนึ่งใจเดียวกัน ไปจนถึงความศรัทธาในยุคใหม่ที่กำลังจะถือกำเนิดขึ้น แต่คนส่วนใหญ่ก็ยังไม่รับรู้ถึงความน่าสะพรึงกลัวของสงคราม ถ้าหากสงครามไม่ยุติลงอย่างรวดเร็วและไม่สูญเสียเลือดเนื้ออย่างที่คาดเอาไว้
 
หลายคนต่างมีความรู้สึกว่า [[ฝ่ายไตรภาคี]] ได้นำมาซึ่งสงครามโลกครั้งที่หนึ่ง และเห็นว่าสงครามโลกครั้งที่หนึ่งเกิดจากสาเหตุที่ว่าเยอรมนีจะต้องตัดสินเพื่อความชอบธรรม [[จักรวรรดิรัสเซีย]]ถูกมองว่ากลืนกินดินแดนอื่น ๆ ความทะเยอทะยานในการรวบรวมชนชาติ[[สลาฟ]] และความไม่พอใจของ[[ฝรั่งเศส]]ที่เป็นฝ่ายพ้ายแพ้ใน[[สงครามฝรั่งเศส-ปรัสเซีย]]นั้นเป็นที่รู้จักกันโดยทั่วไป หลังจากนั้น ชาวเยอรมันตกใจมากที่[[สหราชอาณาจักร]]เข้าสู่สงคราม ชาวเยอรมันจำนวนมากคิดว่าอังกฤษยกเอาความเป็นกลางของ[[เบลเยี่ยม]]เพื่อเป็นข้ออ้างในการเข้าสู่สงคราม และพยายามที่จะขจัดเยอรมนีซึ่งเป็นคู่แข่งทางการค้าระหว่างประเทศที่สำคัญ
 
เมื่อสงครามดำเนินไป ภาพความฝันของชัยชนะอันรวดเร็วก็ถูกทำลาย และชาวเยอรมันต้องทนต่อความสูญเสียอันมหาศาลที่เกิดจากสงครามที่ยืดเยื้อยาวนานและมีมูลค่าสูงลิบ เมื่อความปลาบปลื้มยินดีที่มีมาตั้งแต่แรกมลายหายไป ความแตกต่างทางการเมืองจึงถูกพลิกฟื้น พวกชาตินิยมจึงมาตั้งคำถามอีกเมื่อความกระตือรือร้นที่มีมาแต่แรกทรุดลง ในภายหลัง ข้อสงสัยของพวก[[โรมันคาทอลิก|คาทอลิก]]และพวก[[สังคมประชาธิปไตย]] โดยเฉพาะอย่างยิ่ง พวก[[ยิว]]ได้เพิ่มมากขึ้น ก่อนหน้าสงครามปะทุ ความตึงเครียดทางการเมืองได้พิ่งสูงขึ้นอยู่แล้ว และได้รับการสนับสนุนของพวกสังคมประชาธิปไตยซึ่งมีที่นั่งมากขึ้นในรัฐสภาไรซ์ตาร์ก จึงเกิดความกังวลต่อพวก[[อภิชนาธิปไตย]]ในอำนาจและด้านการทหาร ความไม่แน่นอนดังกล่าวได้เป็นการประสบความสำเร็จในการปฏิเสธนายอีริช ลูเดนดอร์ฟในการจัดงบประมาณให้แก่กองทัพเยอรมัน เมื่อเขาเห็นว่าจำเป็น
 
=== จูเดนแซลุง ===
 
{{บทความหลัก|จูเดนแซลุง}}
 
เมื่อวันที่ [[11 พฤศจิกายน]] [[ค.ศ. 1916]] กองบัญชาการทหารระดับสูงของเยอรมันได้จัดให้มีจูเดนแซลุง ({{lang-de|Judenzählung}} หมายความว่า "การสำรวจสำมะโนประชากรชาวยิว") มันถูกออกแบบมาเพื่อยืนยันข้อสงสัยที่ว่าชาวยิวเยอรมันมีความรักชาติไม่มากนัก แต่ว่าการกระทำดังกล่าวก็ไม่สามารถพิสูจน์ข้อสงสัยอะไรได้ และการกระทำดังกล่าวก็ไม่ได้กระทำกันอย่างเปิดเผย<ref>[http://www.juden-in-bamberg.de/Letter_from_bamberg/Letter_17/lfb17_L.htm "Deutsche Jüdische Soldaten”] Bavarian National Exhibition</ref><ref>"In October 1916, when almost three thousand Jews had already died on the battlefield and more than seven thousand had been decorated, War Minister [[Wild von Hohenborn]] saw fit to sanction the growing prejudices. He ordered a "Jew census" in the army to determine the actual number of Jews on the front lines as opposed to those serving in the rear. Ignoring protests in the Reichstag and the press, he proceeded with his head count. The results were not made public, ostensibly to "spare Jewish feelings." The truth was that the census disproved the accusations: 80 percent served on the front lines." (Amos Elon (2002): ''The Pity of It All''. Metropolitan Books. p.338. Jews, in fact, enlisted at a higher percentage than non-Jews, served in combat units at a higher percentage, and died at a higher percentage. The [[Judenzählung]] has since served as an example of how researchers must accept the results of their work even if the results do not support the researchers' hypothesis.</ref> จำนวนของชาวยิวเยอรมันได้มองว่าสงครามโลกครั้งที่หนึ่งเป็นโอกาสอันดีที่ตยจะได้พิสูจน์ข้อผูกมัดของตนกับมาตุภูมิเยอรมนี
 
=== ปัญหาทางเศรษฐกิจและความไม่สงบ ===
 
นอกจากนี้ ยังได้มีการกล่าววิจารณ์ผู้ที่ถือโอกาสค้ากำไรระหว่างสงครามด้วย บริษัทครุพพ ซึ่งเป็นบริษัทผลิตเหล็กกล้า ได้ถือโอกาสส่งสินค้าไปขายให้กับประเทศคู่สงครามทั้งสองฝ่าย ทำให้บริษัทมีกำไรเป็นอันมาก ผลประโยชน์ของภาคอุตสาหกรรมนั้นมีสูงกว่าเศรษฐกิจภาคอื่น ๆ ดังที่ผู้บริหารได้เข้าแทรกในเศรษฐกิจสสงครามโดยการเสนอเพดานราคาและเกณฑ์อื่น ๆ ผู้ผลิตมักจะตอบสนองด้วยการเปลี่ยนสินค้า ซึ่งทำให้สินค้าขาดแคลน ความขัดแย้งดังกล่าวส่งผลให้เกิดความตึงเครียดในย่านเมืองและย่านชนบท และที่สำคัญ ทำให้เกิดความเดือดร้อนและเป็นการกระจายความบาดหมางด้วย ในปี [[ค.ศ. 1917]] ได้มีการ[[ประท้วงหยุดงาน]]โดยทั่วไปในประเทศเยอรมนี และคนงานในภาคอุตสาหกรรมได้มองการกระทำดังกล่าวด้วยความรังเกียจ ในปี 1917 ได้มีการประท้วงหยุดงานกว่าห้าร้อยครั้ง ส่งผลให้จำนวนวันทำงานขาดหายไปรวมทั้งหมดกว่า 2,000,000 วัน
 
หลังจากนั้น ได้เกิดความไม่สงบทั่วประเทศเนื่องจากมีผู้ยากจนขัดสนเป็นจำนวนมาก ขณะที่ปริมาณการผลิตตกต่ำอย่างรุนแรงในปี 1917 และ 1918 เยอรมนียังต้องทุ่มสุดกำลังในความพยายามที่จะทำสงครามต่อไป แม้ว่าจะมีอำนาจทางอุตสาหกรรมอย่างมากมาย แต่ว่าขนาดอุตสาหกรรมของเยอรมนีและจำนวนประชากรนั้นเทียบได้กับประเทศฝ่ายไตรภาคีรวมกัน หลังจากการที่จักรวรรรดิรัสเซียหลุดออกจากวงของสงครามในปี 1917 ได้เกิดผลกระทบต่อภาพรวมเพียงเล็กน้อยเท่านั้น แต่เมื่อ[[สหรัฐอเมริกา]]เข้าสู่สงครามเมื่อวันที่ [[6 เมษายน]] ปีเดียวกันนั้น ขนาดอุตสาหกรรมของสหรัฐอเมริกาเพียงประเทศเดียวก็สามารถเทียบได้กับเยอรมนีทั้งประเทศแล้ว
 
=== การโฆษณาชวนเชื่อของฝ่ายพันธมิตร ===
 
ในบันทึกความทรงจำของ[[อิริช ลูเดนดอร์ฟ]] เขาได้ชี้ว่าเหล่าผู้นำแห่งราชวงศ์โฮเฮนซอลแลร์นไม่สามารถที่จะรับรู้ถึงอำนาจการ[[โฆษณาชวนเชื่อ]]ของฝ่ายพันธมิตรที่ได้ลงมือปฏิบัติจนกระทั่งประสบความสำเร็จ บรรดาสำนักพิมพ์ในอังกฤษและสหรัฐอเมริกาได้ประสบความสำเร็จในการรณรงค์ด้วยใบปลิวและสิ่งพิมพ์ขนาดเล็ก ทำให้มุมมองของลัทธิ[[เอกาธิปไตย]]ของเยอรมนีนั้นเป็นอย่าง "[[ลัทธินิยมทหาร]]ใน[[ปรัสเซีย]]" และผู้ที่ผิดในการก่อ[[อาชญากรรมต่อมนุษยชาติ]]ก็แฝงตัวอยู่ในสังคมชั้นสูงในเยอรมนีนั่นเอง หลังจากที่จักรวรรรดิรัสเซียหลุดออกจากวงของสงคราม ก็เกิดการเปรียบเทียบระหว่าง "โลกเสรี" ซึ่งประกอบด้วยประเทศผู้ต้องการสันติภาพกับ "ชาติป่าเถื่อน" ซึ่งนำโดยลัทธิเอกาธิปไตยแห่งเยอรมนีซึ่งเป็นชาติที่สนับสนุนสงคราม
 
ถึงแม้ว่าชาวเยอรมันมักจะถูกตราหน้าให้เป็นผู้รับผิดชอบต่อความสูญเสียในสงคราม แต่ข้อเสนอสันติภาพของเยอรมนีกลับถูกเพิกเฉยทั้งหมด ลูเดนดอร์ฟมั่นใจว่าฝ่ายไตรภาคีไม่ต้องการอะไรมากไปกว่า[[สันติภาพแบบคาร์ธาจิเนียน]] แต่ประเด็นนี้ก็ไม่ใช่สิ่งที่ชาวเยรมันส่วนมากได้ฟังจากอีกด้านหนึ่ง ประเด็นที่ชาวเยรมันได้ฟังจากอีกด้านหนึ่งนั้นคือ[[หลักการสิบสี่ข้อ]] ของประธานาธิบดี[[วูดโรว์ วิลสัน]] ซึ่งเป็นที่นิยมอย่างมากในหมู่ประชาชนชาวเยอรมัน พวกสังคมนิยมและพวก[[เสรีนิยม]] โดยเฉพาะอย่างยิ่ง พวกสังคมประชาธิปไตย ซึ่งเป็นเสียงข้างมากในการจัดตั้งรัฐสภา ถูกมองว่าเป็นผู้สนับสนุนทำให้เกิดการเปลี่ยนแปลงทางสังคมก่อนหน้าปี ค.ศ. 1914 เมื่อฝ่ายพันธมิตรมอบคำสัญญาว่าจะให้สันติภาพและการฟื้นฟูอย่างเต็มที่ ความศรัทธาและความรักชาติของประชาชนจึงเรื่มเสื่อมถอย เช่นเดียวกัน พันธมิตรของเยอรมนีได้ตั้งคำถามถึงสาเหตุของสงครามดังกล่าว แต่กลับได้รับคำตอบจากโฆษณาชวนเชื่อของฝ่ายพันธมิตร
 
เมื่อได้มีการลงนามในสัญญาพักรบในปี ค.ศ. 1918 สิ่งที่ลูเดนดรอฟเคยทำนายเอาไว้ก็เกิดขึ้นแทบจะในทันที ถึงแม้ว่าสงครามโลกครั้งที่หนึ่งจะยุติลงไปแล้ว แต่การปิดล้อม[[ยุโรปแผ่นดินใหญ่]]ของอังกฤษยังคงดำเนินต่อไปอีกหนึ่งปีหลังสงครามยุติ ทำให้เกิดการขาดแคลนอาหารทั่วเยอรมนี ชาวเยอรมันกว่า 1,000,000 คนเสียชีวิตจากการปิดล้อมของอังกฤษหลังสงครามครั้งนี้ ซึ่งเกิดขึ้นพร้อมกับความล้มเหลวของกองทัพเยอรมันที่ทำการจัดระเบียบกองทัพอยู่ในขณะนั้น ทำให้กองทัพเยรมันไม่อาจตอบโต้การกระทำดังกล่าวได้ การเจรจาสันติภาพแบบบังคับใน[[สนธิสัญญาแวร์ซายส์]]ที่ได้รับการยอมรับโดยนักการเมืองของ[[สาธารณรัฐไวมาร์]]นั้นไม่ใช่สิ่งที่ประชาชนชาวเยอรมันคาดหวังเอาไว้หลังจากสงครามยุติเลยแม้แต่น้อย
 
=== สนธิสัญญาแวร์ซายส์ ===
 
จากผลของสนธิสัญญาดังกล่าว ทำให้เยอรมนีสูญเสียดินแดนคิดเป็นกว่า 13% ของดินแดนทั้งหมด ไรน์แลนด์ถูกจัดตั้งให้เป็นเขตปลอด[[ทหาร]] รวมไปถึงกองทัพ[[พันธมิตร]]ได้เข้ายึดครองตามพื้นที่ต่าง ๆ เป็นจำนวนมาก และยังรวมไปถึง ภาระค่าปฏิกรรมสงครามมหาศาลซึ่งต้องใช้เวลาผ่อนชำระกว่า 70 ปี แต่ส่วนที่สำคัญที่สุดของสนธิสัญญาซึ่งเกี่ยวกับแนวคิดการลอบแทงข้างหลังด้วยคือ คือ "อนุประโยคความผิดฐานเป็นผู้ริเริ่มสงคราม" ({{lang-en|War Guilt Clause}}) ซึ่งเป็นการบังคับให้[[เยอรมนี]]รับผิดชอบต่อความเสียหายที่เกิดขึ้นใน[[สงคราม]]ทั้งหมด ทำให้[[สนธิสัญญา]]ดังกล่าวได้รับการต่อต้านอย่างหนักในเยอรมนี
 
=== ปฏิกิริยาหลังสงครามและผลกระทบ ===
 
[[ไฟล์:1920 poster 12000 Jewish soldiers KIA for the fatherland.jpg|thumb|right|200px|ใบปลิวซึ่งตีพิมพ์ในปี [[ค.ศ. 1920]] โดยทหารผ่านศึกชาวเยอรมันยิวเพื่อโต้แย้งในกรณีที่มีการกล่าวหาว่าขาดความรักชาติ ข้อความในใบปลิวกล่าว่า ''"ทหารชาวยิวกว่า 12,000 นายเสียชีวิตเหนือทุ่งเกียรติยศแห่งปิตุภูมิ"'']]
พวกอนุรักษนิยม ชาตินิยมและอดีตผู้นำทางทหารได้เริ่มต้นเริ่มวิพากษ์วิจารณ์เกี่ยวกับสันติภาพกับนักการเมืองของสาธารณรัฐไวมาร์ พวกสังคมนิยม พวก[[คอมมิวนิสต์]] และชาว[[ยิว]] ซึ่งถูกมองว่ามีพิรุธเกี่ยวกับการทึกทักเอาเองว่าตนมีความจงรักภักดีต่อชาติเป็นพิเศษ ได้มีการกล่าวอ้างว่าพวกเขาไม่ได้เป็นผู้สนับสนุนสงครามและมีส่วนในการขายชาติให้กับฝ่ายศัตรู ซึ่งกลุ่มบุคคลดังกล่าว หรือที่เรียกกันว่า ''"อาชญากรเดือนพฤศจิกายน"'' ซึ่งเป็นผู้ที่ได้รับประโยชน์จากการก่อตั้ง[[สาธารณรัฐไวมาร์]]ขึ้นมาใหม่ถูกมองอีกว่าเป็นผู้ที่ "ลอบแทงข้างหลัง" จากทาง[[แนวหลัง]] โดยวิพากษ์วิจารณ์ถึงความเป็นชาตินิยมของชาวเยอรมัน การกระตุ้นให้เกิดการก่อความไม่สงบและการจลาจลในอุตสาหกรรรมทางทหารที่สำคัญหรือไม่ก็มีการฉวยโอกาสค้ากำไร โดยที่ใจความหลักของการกล่าวหา นั่นคือ [[กบฏ|การก่อกบฎ]] เพื่อต่อต้าน "ความเมตตากรุณาและคุณธรรม" เป็นสาเหตุหลัก ซึ่งทฤษฎีดังกล่าวได้อ้างถึงหลักฐานที่ได้รับการยอมรับโดยอาศัยความจริงที่ว่าเมื่อเยอรมนียอมจำนนเมื่อเดือนพฤศจิกายน 1918 กองทัพเยอรมันยังคงประจำอยู่ในดินแดนของฝรั่งเศสและเบลเยี่ยม ซึ่งอยู่ห่างจากกรุงเบอร์ลินกว่า 450 ไมล์ นอกจากนั้น ทหารที่กลับจากการรบก็ยังคงระเบียบอันดีอยู่
 
พวกอนุรักษนิยม ชาตินิยมและอดีตผู้นำทางทหารได้เริ่มต้นวิพากษ์วิจารณ์เกี่ยวกับสันติภาพกับนักการเมืองของสาธารณรัฐไวมาร์ พวกสังคมนิยม พวก[[คอมมิวนิสต์]] และชาว[[ยิว]] ซึ่งถูกมองว่ามีพิรุธเกี่ยวกับการทึกทักเอาเองว่าตนมีความจงรักภักดีต่อชาติเป็นพิเศษ ได้มีการกล่าวอ้างว่าพวกเขาไม่ได้เป็นผู้สนับสนุนสงครามและมีส่วนในการขายชาติให้กับฝ่ายศัตรู ซึ่งกลุ่มบุคคลดังกล่าว หรือที่เรียกกันว่า ''"อาชญากรเดือนพฤศจิกายน"'' ซึ่งเป็นผู้ที่ได้รับประโยชน์จากการก่อตั้ง[[สาธารณรัฐไวมาร์]]ขึ้นมาใหม่ถูกมองอีกว่าเป็นผู้ที่ "ลอบแทงข้างหลัง" จากทาง[[แนวหลัง]] โดยวิพากษ์วิจารณ์ถึงความเป็นชาตินิยมของชาวเยอรมัน การกระตุ้นให้เกิดการก่อความไม่สงบและการจลาจลในอุตสาหกรรรมทางทหารที่สำคัญหรือไม่ก็มีการฉวยโอกาสค้ากำไร โดยที่ใจความหลักของการกล่าวหา นั่นคือ [[กบฏ|การก่อกบฎ]] เพื่อต่อต้าน "ความเมตตากรุณาและคุณธรรม" เป็นสาเหตุหลัก ซึ่งทฤษฎีดังกล่าวได้อ้างถึงหลักฐานที่ได้รับการยอมรับโดยอาศัยความจริงที่ว่าเมื่อเยอรมนียอมจำนนเมื่อเดือนพฤศจิกายน 1918 กองทัพเยอรมันยังคงประจำอยู่ในดินแดนของฝรั่งเศสและเบลเยี่ยม ซึ่งอยู่ห่างจากกรุงเบอร์ลินกว่า 450 ไมล์ นอกจากนั้น ทหารที่กลับจากการรบก็ยังคงระเบียบอันดีอยู่
 
กองทัพฝ่ายพันธมิตรได้รับเสบียงจากสหรัฐอเมริกาเป็นจำนวนมาก และยังมีกองทัพที่พร้อมรบ แต่กองทัพอังกฤษและฝรั่งเศสอ่อนเปลี้ยจากสภาวะสงครามจนไม่อาจจะรุกรานเข้าไปยังดินแดนเยอรมนีได้โดยไม่คำนึงถึงผลกระทบที่ตามมาในภายหลัง ไม่มีกองทัพพันธมิตรกองใดสามารถตีฝ่าแนวรบของเยอรมนีทางด้าน[[แนรบด้านตะวันตก (สงครามโลกครั้งที่หนึ่ง)|ตะวันตก]] และทางด้าน[[แนวรบด้านตะวันออก (สงครามโลกครั้งที่หนึ่ง)|แนวรบด้านตะวันออก]] กองทัพเยอรมันได้ชัยชนะเหนือ[[จักรวรรดิรัสเซีย]] ซึ่งยุติลงด้วย[[สนธิสัญญาเบรสต์-ลีตอฟสก์]] ทางด้านตะวันตก กองทัพเยอรมันเกือบจะได้รับชัยชนะจาก[[การรุกฤดูใบไม้ผลิ]] แต่กองทัพเยรมันก็พ่ายแพ้ในเวลาต่อมา ซึ่งแนวคิดการลอบแทงข้างหลังมีส่วนทำให้เกิดความพ่ายแพ้นี้ สิ่งที่เป็นสาเหตุที่นำไปสู่ความพ่ายแพ้ของกองทัพเยอรมัน นั่นก็คือ การที่คนงานในอุตสาหกรรมผลิตอาวุธก่อการประท้วงหยุดงานในช่วงเวลาที่การรบติดพัน ทำให้ทหารไม่มี[[อาวุธยุทโธปกรณ์]]ในการสู้รบ การก่อการประท้วงดังกล่าวถูกมองว่าเกิดจากการยุยงส่งเสริมจากผู้ที่มีความคิดเป็นกบฎ โดยชาวยิวถูกประณามมากที่สุด ซึ่งเป็นการมองข้ามสภาพทางยุทธศาสตร์ของเยอรมนีและละเลยความพยายามในการทำการรบของทหารในแนวหน้า ตั้งแต่ได้มีการทำสงครามในรูปแบบใหม่ที่มีผู้เป็นปฏิปักษ์ต่อผู้ทำสงครามได้เข้าร่วมต่อสู้ด้วย และ[[เศรษฐกิจสงคราม]]ได้ทำให้มนุษยธรรมในยามสงครามยิ่งลดลงไปอีก และทำให้เยอรมนีประสบกับสภาพพ่ายแพ้รูปแบบใหม่หลังจาก[[สงครามเบ็ดเสร็จ]]เกิดขึ้น