ผลต่างระหว่างรุ่นของ "ธนิต อยู่โพธิ์"

เนื้อหาที่ลบ เนื้อหาที่เพิ่ม
Tinuviel (คุย | ส่วนร่วม)
Tinuviel (คุย | ส่วนร่วม)
บรรทัด 46:
=== ด้านงานนิพนธ์ ===
 
ส่วนงานด้านพิพนธ์นั้น นายธนิต อยู่โพธิ์ ได้แต่งแปล และเรียบเรียง ตรวจแก้และตรวจสอบชำระหนังสือเรื่องต่างๆ ขึ้นไว้ 200 เรื่อง โดยทั่วไปเป็นเรื่องสารคดีทางประวัติศาสตร์โบราณคดี ศิลปะทางนาฏศิลป์และดุริยางคศิลป์ เรื่องเกี่ยวกับวัฒนธรรมและศาสนา ส่วนมากพิมพ์เผยแพร่แล้ว เช่น ประวัติเสียดินแดนสยาม 8 ครั้ง เรื่องทางโบราณคดี เช่น สุวรรณภูมิ พระพุทธรูปศิลาขาวสมัยทวารวดี ฯลฯ เรื่องทางวรรณคดี เช่น ประวัติและโคลงกำสรวลศรีปราชญ์ วรรณคดีกับชีวิตและการเมือง ฯลฯ เรื่องทางนาฏศิลป์และดุริยางคศิลป์
เช่น โขน ศิลปะละครรำหรือคู่มือนาฏศิลป์ไทย ฯลฯ เรื่องทางศิลปะ เช่น ศิลปะและศีลธรรม ความหมายและจิตวิทยาเกี่ยวกับสี ฯลฯ เรื่องทางศาสนา เช่น ภาวะเศรษฐกิจสมัยพุทธกาล ตำนานเทศน์มหาชาติ ฯลฯ สำหรับเรื่องเกี่ยวกับวัฒนธรรมไม่ได้จัดพิมพ์เป็นเล่ม แต่ด้วยความปรารถนาที่จะเผยแพร่ศิลปวัฒนธรรมประเพณีของไทยให้เป็นที่รู้จักกันแพร่หลายทั่วโลก ท่านได้ร่วมกับเจ้าคุณพระยาอนุมานราชธนจัดทำหนังสือชุดวัฒนธรรมไทยขึ้นชุดหนึ่ง เรียกว่า "Thai Culture Series" ต่อมาได้จัดทำขึ้นใหม่
โดยปกติเป็นเรื่องสารคดีทางประวัติศาสตร์โบราณคดี ศิลปะทางนาฏศิลป์และดุริยางคศิลป์ เรื่องเกี่ยวกับวัฒนธรรมและศาสนา ส่วนมากพิมพ์เผยแพร่แล้ว
และเปลี่ยนชื่อว่า "Thai Culture, New Series" เป็นอนุสารอังกฤษว่าด้วยขนบธรรมเนียมประเพณี และศิลปวัฒนธรรมของไทย โดยไม่ใช้งบประมาณของทางราชการและได้ส่งไปจำหน่ายในสหรัฐอเมริกา และต่อมาได้พิจารณาเห็นว่าเป็นประโยชน์ส่วนรวมของชาติ จึงติดต่อขอทำความตกลงกับสำนักงบประมาณก็ได้รับอนุมัติและจัดงบประมาณค่าจัดพิมพ์และเผยแพร่ให้แก่กรมศิลปากรต่อมา
เช่น ประวัติเสียดินแดนสยาม 8 ครั้ง เรื่องทางโบราณคดี เช่น สุวรรณภูมิ พระพุทธรูปศิลาขาวสมัยทวารวดี ฯลฯ เรื่องทางวรรณคดี
 
เช่น ประวัติและโคลงกำสรวลศรีปราชญ์ วรรณคดีกับชีวิตและการเมือง ฯลฯ เรื่องทางนาฏศิลป์และดุริยางคศิลป์
=== อื่นๆ ===
เช่น โขน ศิลปะละครรำหรือคู่มือนาฏศิลป์ไทย ฯลฯ เรื่องทางศิลปะ เช่น ศิลปะและศีลธรรม ความหมายและจิตวิทยาเกี่ยวกับสี ฯลฯ
เรื่องทางศาสนา เช่น ภาวะเศรษฐกิจสมัยพุทธกาล ตำนานเทศน์มหาชาติ ฯลฯ สำหรับเรื่องเกี่ยวกับวัฒนธรรมไม่ได้จัดพิมพ์เป็นเล่ม
แต่ด้วยความปรารถนาอย่างแรงกล้าที่จะเผยแพร่ศิลปวัฒนธรรมประเพณีของไทยให้เป็นที่รู้จักกันแพร่หลายทั่วโลก
ท่านได้ร่วมกับเจ้าคุณพระยาอนุมานราชธนจัดทำหนังสือชุดวัฒนธรรมไทยขึ้นชุดหนึ่ง เรียกว่า Thai Culture Series ต่อมาได้จัดทำขึ้นใหม่
และเปลี่ยนชื่อว่า Thai Culture, New Series เป็นอนุสารอังกฤษว่าด้วยขนบธรรมเนียมประเพณี และศิลปวัฒนธรรมของไทย
โดยไม่ใช้งบประมาณของทางราชการและได้ส่งไปจำหน่ายในสหรัฐอเมริกา และต่อมาได้พิจารณาเห็นว่าเป็นประโยชน์ส่วนรวมของชาติ
จึงติดต่อขอทำความตกลงกับสำนักงบประมาณก็ได้รับอนุมัติและจัดงบประมาณค่าจัดพิมพ์และเผยแพร่ให้แก่กรมศิลปากรต่อมา
นอกจากนั้นท่านยังมีผลงานอื่นๆอีก คือ
 
1. เมื่อดำรงตำแหน่งอธิบดีกรมศิลปากร และเป็นผู้อำนวยการมหาวิทยาลัยศิลปากรได้ฟื้นฟูปรับปรุงทั้งสถานที่และอาจารย์กับทั้งหลักสูตรให้ได้มาตรฐานตามระบบการศึกษาในมหาวิทยาลัยอื่นๆ กล่าวคือ ปรับปรุงสถานที่เรียนจากโรงไม้เป็นอาคารก่อตึก ปรับปรุงอาจารย์ซึ่งก่อนหน้านั้นมีฐานะเป็นลูกจ้างต่างจากมหาวิทยาลัยอื่นๆ ซึ่งเป็นข้าราชการประจำโดยเสนอพระราชบัญญัติมหาวิทยาลัยศิลปากรฉบับใหม่ให้ยกฐานะเป็นข้าราชการสืบมาจนบัดนี้ ส่วนหลักสูตรมหาวิทยาลัยศิลปากรก็ปรับปรุงมาโดยลำดับ
เส้น 67 ⟶ 60:
4. ได้เดินทางไปประชุมสภาการพิพิธภัณฑ์ระหว่างชาติทั้งในแถบประเทศตะวันตกและตะวันออก ได้รับเชิญไปดูงานในประเทศต่างๆ และรัฐบาลเคยส่งไปดูงานในยุโรปหลายประเทศ เช่น อังกฤษ ฝรั่งเศส อิตาลี เป็นต้น
 
5. ได้รับคำสั่งจากรัฐบาลสมัยต่างๆ ให้เป็นผู้ดำเนินการจัดการแสดงนาฏศิลป์ไทยถวาย พระบาทสมเด็จพระเจ้าอยู่หัวและสมเด็จพระนางเจ้าฯ พระบรมราชินีนาถ ทรงต้อนรับประมุขของประเทศต่างๆ และเจ้านายคนสำคัญ ตลอดทั้งพระราชอาคันตุกะอื่นๆ อีกหลายท่านและหลายครั้ง
 
และนายธนิต อยู่โพธิ์ เกษียณอายุราชการเมื่อวันที่ 30 กันยายน พ.ศ. 2511 ได้เกษียณอายุราชการ ออกราชการรับพระราชทานบำนาญรวมอยู่ในชีวิตราชการทั้งสิ้น 34 ปี 5 เดือน
 
== อ้างอิง ==