ผลต่างระหว่างรุ่นของ "เจ้าเพชรราช รัตนวงศา"

เนื้อหาที่ลบ เนื้อหาที่เพิ่ม
DaraneeBhangsbha (คุย | ส่วนร่วม)
ไม่มีความย่อการแก้ไข
DaraneeBhangsbha (คุย | ส่วนร่วม)
แก้ไขและเพิ่มเติม
บรรทัด 27:
ขณะรับตำแหน่งผู้ตรวจราชการหัวเมืองลาวที่นครเวียงจันทร์ ได้อนุชายา ชื่อนางศรี (ชาวเวียงจันทร์) บุตรธิดา 2 คน
1 เจ้าหญิงอรุณา (เจ้านา) เพชรราช
2 เจ้าชายอุ่นแก้ว (เจ้าแก้ว) เพชรราช <ref>มหาสิลา วีระวงศ์</ref>
(ภายหลังเมื่อสิ้นเจ้าเพชรราชแล้ว ทั้งสองท่านนี้ได้ตามหม่อมอภิณพร รัตนวงศามาอยู่ในเมืองไทย เจ้านาเรียนพยาบาล และเจ้าแก้วรับราชการทหาร)<ref>(ข้อมูลจากนายอติศัย แพ่งสภา)</ref>
<ref>มหาสิลา วีระวงศ์</ref>
พ.ศ. 2489 เมื่อต้องทรงลี้ภัยทางการเมืองเข้ามาอยูในประเทศไทย พร้อมรัฐบาลลาวอิสระและประชาชนเมืองลาวผู้รักอิสรภาพหลายพันคนเป็นเวลานานถึง 11 ปี
(ภายหลังเมื่อสิ้นเจ้าเพชรราชแล้ว ทั้งสองท่านนี้ได้ตามหม่อมอภิณพร รัตนวงศามาอยู่ในเมืองไทย เจ้านาเรียนพยาบาล และเจ้าแก้วรับราชการทหาร)<ref>(ข้อมูลจากนายอติศัย แพ่งสภา)</ref>
หลายพันคนเป็นเวลานานถึง 11 ปี ขณะพำนักลี้ภัยในประเทศไทย มีคุณอภิณพร ยงใจยุทธเป็นแม่บ้าน ต่อมาได้สมรสกับคุณอภิณพร
พ.ศ. 2489 เมื่อต้องทรงลี้ภัยทางการเมืองเข้ามาอยูในประเทศไทย พร้อมรัฐบาลลาวอิสระและประชาชนเมืองลาวผู้รักอิสรภาพหลายพันคนเป็นเวลานานถึง 11 ปี
ขณะพำนักลี้ภัยในประเทศไทย มีคุณอภิณพร ยงใจยุทธเป็นแม่บ้าน ต่อมาได้สมรสกับคุณอภิณพร ฯ เปลี่ยนเป็นหม่อมอภิณพร รัตนวงศา (นามสกุล “รัตนวงศา” ทรงตั้งขึ้นเองเมื่ออยู่ในเมืองไทย สืบเนื่องจากพระมหาอุปราชอุ่นแก้วพระบิดา)
หม่อมอภิณพรฯ เป็นกำลังสำคัญของการปฎิบัติการกู้ชาติ ผู้ทำหน้าที่แม่บ้านปกครองดูแลผู้คนจำนวนมาก เป็นเจ้าหน้าที่ประสานงานกับ
รัฐบาลไทย บริหารการจัดการเงินจัดหาค่าใช้จ่าย เป็นเลขานุการส่วนพระองค์ ปฏิบัติหน้าที่ผู้แทนพระองค์เจ้าเพชรราช เจรจาการเมืองและ
เรื่องส่วนพระองค์ ทั้งในและนอกราชอาณาจักรไทย ไปพนมเปญ ไปย่างกุ้ง เพื่อทำความเข้าใจร่วมระหว่างลาวเขมรญวนและพม่าที่ต่างมุ่ง
ล้างอิทธิพลชาวผิวขาวด้วยกัน
พ.ศ. 2490 รัฐบาลฝรั่งเศสยินยอมให้ประเทศลาวเป็นเอกราชในเครือสหพันธ์ฝรั่งเศส เจ้าเพชรราชทรงไม่เห็นด้วยเพราะเห็นว่าเอกราช
นั้นไม่สมบูรณ์ จึงทรงวางมือทางการเมืองไม่เข้ากับฝ่ายใด เพราะเจ้าสุวรรณภูมา พระอนุชาองค์ที่ 1 เข้ากับฝรั่งเศส, เจ้าสุภานุวงศ์ อนุชา
องค์ที่ 2 เข้ากับเวียตนามเหนือ, รัฐบาลไทยโดยจอมพล ป. พิบูลสงคราม เป็นนายกรัฐมนตรี รับรองรัฐบาลลาวตามนโยบายการเมืองที่จำเป็น
ขณะที่ประทับในเมืองไทยนับแต่วางมือจากการเมือง และหายจากโรคกระเพาะอาหารที่ต้องรับการผ่าตัด จึงหันหน้าเข้าป่าล่าเนื้อกับบรรดา
เจ้านายไทยและข้าราชการไทยผู้ที่ชอบกีฬาล่าเนื้อเหมือนกัน <ref>สหายนักนิยมไพร : พล.ต.พระศัลยเวทย์วิศิษฐ์, พ.อ.พระยาสุรพันธเสนีย์,
พันเอกพระอินทร์สรศัลย์ , นายสรศัลย์ แพ่งสภา, นายอติศัย แพ่งสภา ฯ</ref> จนเป็นที่รักชอบกัน
<ref></ref> พ.ศ. 2499 เสด็จเจ้าสุวรรณภูมา ได้ทูลเชิญเจ้าเพชรราชกลับเพื่อแก้ปัญหายุ่งยากในประเทศ และได้เสด็จกลับในปี
วันที่ 22 มีนาคม 2500 โดยทางรถไฟจากกรุงเทพถึงหนองคาย มีประชาชนลาวไปต้อนรับอย่างล้นหลาม
เมื่อเสด็จกลับสู่ราชอาณาจักรลาวอีกครั้ง เป็นความปลี้มปิติและความหวังใหม่ที่ชาติลาวจะได้สงบร่มเย็น เจริญรุ่งเรืองไร้การครอบครองของชาติ
อื่น ท่านกลายเป็นเทพเจ้าของคนลาว แต่ก็เป็นชนวน ให้เกิดความไม่พอใจ รวมทั้งอุปสรรคขวากหนามต่างๆ ที่ทำให้พระองค์ตระหนักถึงความ
ล้มเหลว ในการรวมตัวกันสร้างชาติใหม่ และทรงทราบถึงอันตรายบางประการ
ประมาณเดือนกรกฎาคม 2502 ทรงมีลายพระหัตถ์ถึงพระสหายนักนิยมไพรในกรุงเทพฯ <ref>ตามอ้างอิงสมาชิกสมาคมนักนิยมไพร
</ref> บรรยายถึงความผิดหลังและล้มเหลว รับสั่งว่าถึงคราวที่ต้องเสด็จนิราศจากแผ่นดินเกิด เข้ามาพึ่งพระบรมโพธิสมภารในเมืองไทยอีกครั้ง ประมาณว่าจะเสด็จในเดือนธันวาคม 2502
แต่แล้วเหตุการณ์ที่ไม่มีผู้ใดคาดฝัน อุบัติขึ้นเช้าวันที่ 16 ตุลาคม 2502 พระสหายในกรุงเทพฯ ได้รับแจ้งจากเจ้าคำปาน
เอกอัครราชทูตลาว ณ กรุงเทพ ว่า เจ้าพชรราชสิ้นพระชนม์แล้วเมื่อ 15 ตุลาคม 2502 ณ วังเชียงแก้ว สาเหตุเส้นโลหิตในพระสมองแตก
'''อ้างอิง''' ๑. หนังสือเจ้าเพชรราช เรียบเรียงโดยมหสิลา วีระวงส์
๒. บทความเรื่อง "เจ้าเพชรราช มหาอุปราชแห่งเวียงจันทร์ " เรียบเรียงโดยนายสรศัลย์ แพ่งสภา และนายอติศัย แพ่งสภา
และโดยความร่วมมือของสมาชิกนิยมไพรไทยจากประสบการณ์จริง รวมทั้งนายอติศัยฯ ที่ได้ช่วยเหลืองานด้านการเกษตรขององค์การ USOM
ในประเทศลาว พักอาศัยอยู่ที่วังเวียงจันทร์ จนวันสุดท้าย 15 ตุลาคม 2502