ผลต่างระหว่างรุ่นของ "พันธะไฮโดรเจน"

เนื้อหาที่ลบ เนื้อหาที่เพิ่ม
SARANPHONG YIMKLAN (คุย | ส่วนร่วม)
ไม่มีความย่อการแก้ไข
SARANPHONG YIMKLAN (คุย | ส่วนร่วม)
ไม่มีความย่อการแก้ไข
บรรทัด 10:
โดยทั่วไปแล้ว พันธะไฮโดรเจนจะถูกแสดงด้วยสัญลักษณ์ X-H…Y-X เมื่อจุดสามจุด (…) แทนพันธะไฮโดรเจน X-H แทนผู้ให้ (donor) พันธะไฮโดรเจน ตัวรับ (acceptor) อาจจะเป็นอะตอมหรือไอออนลบ Y หรือส่วนของโมเลกุล Y-Z เมื่อ Y สร้างพันธะกับ Z ในบางกรณี X และ Y อาจจะเป็นอะตอมชนิดเดียวกัน และ ระยะ X-H และ Y-H เท่ากัน ทำให้เกิดพันธะไฮโดรเจนแบบสมมาตร (symmetric hydrogen bond) และในบางครั้งจะพบว่า ตัวรับพันธะไฮโดรเจนอาจจะเป็นอิเล็กตรอนคู่โดดเดี่ยวของ Y หรือพันธะไพ (pi bond) ของ Y-Z
 
==แหล่งอ้างอิง==
 
[1] *[http://goldbook.iupac.org/H02899.html Nic, M.; Jirat, J.; Kosata, B., eds. (2006–). "hydrogen bond". IUPAC Compendium of Chemical Terminology (Online ed.). doi:10.1351/goldbook.H02899. ISBN 0-9678550-9-8]
 
[2] *[http://iupac.org/publications/pac/83/8/1637/ E. Arunan, G. R. Desiraju, R. A Klein, J. Sadlej, S. Scheiner, I. Alkorta, D. C. Clary, R. H. Crabtree, J. J. Dannenberg, P. Hobza, H. G. Kjaergaard, A. C. Legon, B. Mennucci, and D. J. Nesbitt (2011). "Definition of the hydrogen bond". Pure Appl. Chem. 83 (8): 1637–1641. doi:10.1351/PAC-REC-10-01-02]
 
[3] *[http://iupac.org/publications/pac/83/8/1619/ E. Arunan, G. R. Desiraju, R. A Klein, J. Sadlej, S. Scheiner, I. Alkorta, D. C. Clary, R. H. Crabtree, J. J. Dannenberg, P. Hobza, H. G. Kjaergaard, A. C. Legon, B. Mennucci, and D. J. Nesbitt (2011). "Defining the hydrogen bond: An Account". Pure Appl. Chem. 83 (8): 1619–1636. doi:10.1351/PAC-REP-10-01-01]
 
== ดูเพิ่ม ==