ผลต่างระหว่างรุ่นของ "การซ่อมแซมดีเอ็นเอ"

เนื้อหาที่ลบ เนื้อหาที่เพิ่ม
Luckas-bot (คุย | ส่วนร่วม)
r2.7.1) (โรบอต เพิ่ม: ar, bg, ca, cs, de, es, et, fa, fi, fr, he, hu, id, it, ja, ko, lv, ms, nl, pl, pt, ru, simple, sr, tr, uk, zh
MuanN (คุย | ส่วนร่วม)
ไม่มีความย่อการแก้ไข
บรรทัด 1:
[[Image:brokechromo.jpg|frame|right|DNA damage resulting in multiple broken chromosomes]]
'''การซ่อมแซมดีเอ็นเอ''' คือชุดของกระบวนการที่ทำให้[[เซลล์]]สามารถตรวจพบและแก้ไขความเสียหายที่เกิดขึ้นกับ[[ดีเอ็นเอ]]ที่ประกอบกันเป็น[[จีโนม]]ของเซลล์นั้นๆ ได้ ใน[[เซลล์มนุษย์]]นั้นมีสิ่งที่สามารถทำให้เกิดความเสียหายต่อดีเอ็นเอได้หลายอย่างไม่ว่าจะเป็น[[metabolism|กระบวนการเผาผลาญ]]ตามปกติหรือปัจจัยสิ่งแวดล้อมเช่นแสง[[ultraviolet|ยูวี]]หรือ[[radiation|รังสี]]ต่างๆ ซึ่งสิ่งเหล่านี้ทำให้เกิด[[รอยโรคระดับโมเลกุล]]ได้สูงสุดถึงหนึ่งล้านตำแหน่งต่อเซลล์ต่อวัน<ref name="lodish">Lodish H, Berk A, Matsudaira P, Kaiser CA, Krieger M, Scott MP, Zipursky SL, Darnell J. (2004). Molecular Biology of the Cell, p963. WH Freeman: New York, NY. 5th ed.</ref> รอยโรคเหล่านี้หลายอันทำให้เกิดความเสียหายระดับโครงสร้างของโมเลกุลดีเอ็นเอ และอาจส่งผลเปลี่ยนแปลงหรือระงับความสามารถของเซลล์ที่จะ[[การถอดรหัส (พันธุศาสตร์)|ถอดรหัส]][[ยีน]]ที่สร้างจากดีเอ็นเอส่วนนั้นๆ รอยโรคบางแบบอาจทำให้เกิด[[การกลายพันธฺุ์]]ในจีโนมของเซลล์ซึ่งมีโอกาสเป็นอันตรายได้ ทำให้ส่งผลต่อการอยู่รอดของเซลล์ที่ได้จาก[[mitosis|การแบ่งตัว]]ของเซลล์นั้นๆ เช่นนั้นแล้วกระบวนการซ่อมแซมดีเอ็นเอจึงเป็นกระบวนการที่มีการทำงานตลอดเวลาเพื่อตอบสนองต่อความเสียหายที่เกิดขึ้นกับโครงสร้างดีเอ็นเอ หากกระบวนการซ่อมแซมล้มเหลว และเซลล์ที่มีดีเอ็นเอที่เสียหายนั้นไม่สามารถเข้าสู่กระบวนการ[[อะพอพโทซิส]]หรือกระบวนการทำลายเซลล์ตามปกติได้สำเร็จ จะเกิดเป็นความเสียหายต่อดีเอ็นเอที่ไม่สามารถซ่อมแซมได้ อาจเกิดเป็นจุดแตกหักของโครงสร้างเกลียวคู่ หรือเกิดการจับใหม่ข้ามจุด (crosslink) ของดีเอ็นเอได้<ref name="acharya">{{cite journal | last1 = Acharya | first1 = PV | title = The isolation and partial characterization of age-correlated oligo-deoxyribo-ribonucleotides with covalently linked aspartyl-glutamyl polypeptides. | journal = Johns Hopkins medical journal. Supplement | issue = 1 | pages = 254–60 | year = 1971 | pmid = 5055816 }}</ref><ref name="Bjorksten">{{cite journal | last1 = Bjorksten | first1 = J | last2 = Acharya | first2 = PV | last3 = Ashman | first3 = S | last4 = Wetlaufer | first4 = DB | title = Gerogenic fractions in the tritiated rat. | journal = Journal of the American Geriatrics Society | volume = 19 | issue = 7 | pages = 561–74 | year = 1971 | pmid = 5106728 }}</ref>
==อ้างอิง==
{{รายการอ้างอิง}}
[[หมวดหมู่:อณูพันธุศาสตร์]]
{{โครงชีววิทยา}}