ผลต่างระหว่างรุ่นของ "หม่อมเจ้าพิไลยเลขา ดิศกุล"

เนื้อหาที่ลบ เนื้อหาที่เพิ่ม
ช้างดำ (คุย | ส่วนร่วม)
ไม่มีความย่อการแก้ไข
ไม่มีความย่อการแก้ไข
บรรทัด 3:
'''หม่อมเจ้าพิไลยเลขา ดิศกุล''' ([[8 สิงหาคม]] [[พ.ศ. 2440]] - [[11 ธันวาคม]] [[พ.ศ. 2528]])<ref>[http://learners.in.th/file/beeboy555/%E0%B8%81%E0%B8%A3%E0%B8%A1%E0%B8%9E%E0%B8%A3%E0%B8%B0%E0%B8%A2%E0%B8%B2%E0%B8%94%E0%B8%B3%E0%B8%A3%E0%B8%87%E0%B8%A3%E0%B8%B2%E0%B8%8A%E0%B8%B2%E0%B8%99%E0%B8%B8%E0%B8%A0%E0%B8%B2%E0%B8%9E.doc สมเด็จพระเจ้าบรมวงศ์เธอ พระองค์เจ้าดิศวรกุมาร กรมพระยาดำรงราชานุภาพ ]</ref> เป็นพระธิดาของ[[สมเด็จพระเจ้าบรมวงศ์เธอ พระองค์เจ้าดิศวรกุมาร กรมพระยาดำรงราชานุภาพ]] กับหม่อมเฉื่อย พระบิดานำเข้าถวายตัวในสำนัก[[สมเด็จพระศรีพัชรินทรา บรมราชินีนาถ]] ตั้งแต่ 4 ชันษา เข้าศึกษาตามแบบสมัยใหม่ที่[[โรงเรียนราชินี]] ได้รับใช้ใกล้ชิดติดพระองค์ โดยมีหน้าที่เชิญหีบพระศรี พระกลด ตลอดจนเครื่องใช้ส่วนพระองค์ จนพระชันษาได้ 14 ปี [[สมเด็จเจ้าฟ้าประชาธิปกศักดิเดชน์]] (รัชกาลที่ 7) ที่พระชนมายุ 16 พรรษา ทรงพอพระทัยในหม่อมเจ้าหญิงพิไลยเลขา จึงทูลขอพระชนนีให้ทรงหมั้นหมายก่อนที่จะเสด็จกลับศึกษาต่อที่[[ประเทศอังกฤษ]] โดยพระชนนีหมั้นหมายหม่อมเจ้าหญิงพิไลยเลขาด้วยเครื่องเพชร และโปรดพระราชทานอนุญาตให้ทั้งคู่แลกของและติดต่อกันทาง[[จดหมาย]]
 
แต่หลังจากนั้น 4 ปี หลังเสด็จกลับศึกษาต่อ หม่อมเจ้าพิไลยเลขาซึ่งมีพระชันษา 18 ปี ก็มิใช่เด็กหญิงที่สามารถคลุกคลีผู้ใดได้แต่เดิม ในขณะที่สมเด็จเจ้าฟ้าประชาธิปกทรงมีโอกาสพบปะเล่นหัวพูดคุยกับหญิงอื่น และต้องชะตากับ[[หม่อมเจ้ารำไพพรรณี สวัสดิวัฒน์สวัสดิวัตน์]] ทำให้พระทัยหวั่นไหว อันเปิดเหตุจากความเหินห่างพระคู่หมั้น จนอภิเษกสมรสกัน<ref>ศันสนีย์ วีระศิลป์ชัย. "วาทะเล่าประวัติศาสตร์" ''นิตยสารศิลปวัฒนธรรม'' ฉบับ 2 ธันวาคม 2551หน้า 42-44</ref>
 
<!--