ผลต่างระหว่างรุ่นของ "พันธะไฮโดรเจน"

เนื้อหาที่ลบ เนื้อหาที่เพิ่ม
SARANPHONG YIMKLAN (คุย | ส่วนร่วม)
ไม่มีความย่อการแก้ไข
SARANPHONG YIMKLAN (คุย | ส่วนร่วม)
ไม่มีความย่อการแก้ไข
บรรทัด 2:
[[ไฟล์:Wasserstoffbrückenbindungen-Wasser.svg|thumb|พันธะไฮโดรเจนระหว่างโมเลกุลของ[[น้ำ (โมเลกุล)|น้ำ]] ซึ่งในรูปแทนด้วยเส้นประสีดำ ส่วนเส้นขาวทึบเป็นพันธะโควาเลนต์ที่ยึดเกาะกันระหว่าง [[ออกซิเจน]] (สีแดง) และ [[ไฮโดรเจน]] (สีขาว)]]
 
'''พันธะไฮโดรเจน''' ({{lang-en|Hydrogen bond}}) เป็นอันตรกิริยาระหว่างโมเลกุลชนิดหนึ่ง ที่เกิดขึ้นระหว่าง[[อะตอม|อะตอม]]ที่มีสภาพลบหรือมีอิเล็กโทรเนกาทิวิตีสูงกับอะตอมของ[[ไฮโดรเจน|ไฮโดรเจน]]ที่สร้าง[[พันธะโคเวเลนต์|พันธะโควาเลนต์]]กับอะตอมที่มีอิเล็กโทรเนกาทิวิตีสูงอีกอะตอมหนึ่ง พันธะไฮโดรเจนจัดเป็นแรงทาง[[ไฟฟ้าสถิต|ไฟฟ้าสถิต]]ระหว่างสภาพขั้วบวกและสภาพขั้วลบ หรือเป็นอันตรกิริยาแบบขั้วคู่-ขั้วคู่ ทั้งนี้ พันธะไฮโดรเจนอาจเกิดขึ้นภายใน[[โมเลกุล|โมเลกุล]]หรือระหว่างโมเลกุลก็ได้ [[พลังงานของพันธะ|พลังงานพันธะ]]ไฮโดรเจนอยู่ระหว่าง 5-30 kJ/mol ซึ่งมีความแข็งแรงมากกว่าแรงแวนเดอร์วาล์ว แต่อ่อนกว่า[พันธะโคเวเลนต์และวาเลนต์|พันธะโคเวเลนต์]]และ[[พันธะไอออน|พันธะไอออนิก|พันธะไอออน]] อนึ่ง ในโมเลกุลขนาดใหญ่ เช่น [[โปรตีน]] หรือ [[กรดนิวคลีอิก]] ก็อาจมีพันธะไฮโดรเจนภายในโมเลกุลได้
 
'''นิยามโดย IUPAC'''