ผลต่างระหว่างรุ่นของ "ยุคเฮอัง"

เนื้อหาที่ลบ เนื้อหาที่เพิ่ม
Setawut (คุย | ส่วนร่วม)
แทนที่ "เกียวโต" → "เคียวโตะ" ด้วยสจห.
Setawut (คุย | ส่วนร่วม)
แทนที่ "ฟุจิวาระ" → "ฟุจิวะระ" ด้วยสจห.
บรรทัด 60:
* [[พ.ศ. 1349]] (ค.ศ. 806) - พระคูไก เดินทางกลับญี่ปุ่น และก่อตั้งศาสนาพุทธ นิกายชินงอน
** อำนาจของจักรพรรดิเริ่มสั่นคลอน จากการขึ้นมามีอำนาจของตระกูลฟูจิวาระ ที่ได้รับตำแหน่งสูงในราชสำนัก นอกจากนี้ยังได้อำนาจมาจากการไปแต่งงานกับเชื้อพระวงศ์ของจักรพรรดิด้วย
* [[พ.ศ. 1427]] (ค.ศ. 884) - โมโททสึเนะ ฟุจิวาระวะระ ได้รับแต่งตั้งเป็น คัมปากุ ตำแหน่งผู้สำเร็จราชการผู้อาวุโส ซึ่งเป็นตำแหน่งสูงสุดของขุนนาง และทำให้[[ตระกูลฟุจิวาระวะ]]ระยึดครองอำนาจในราชสำนัก
* [[พ.ศ. 1437]] (ค.ศ. 894) - มิจิซาเนะ สุงาวาระ (ซึ่งเป็นตระกูลที่จักรพรรดิทรงให้การอุปถัมภ์เพื่อยับยั้งการมีอำนาจของตระกูลฟูจิวาระ) ได้สั่งระงับการส่งทูตไปเมืองถังของจีน (เนื่องจากการเมืองในจีนกำลังวุ่นวาย) ส่งผลให้การรับวัฒนธรรมจากแผ่นดินใหญ่ยุติลงด้วย แต่ส่งผลทำให้อารยธรรมญี่ปุ่นเริ่มที่จะมีลักษณะและรูปแบบพิเศษเฉพาะเป็นของตนเอง
* [[พ.ศ. 1444]] (ค.ศ. 901) - สุงาวาระ ถูกเนรทศไปอยู่ที่ดาไซฟุ [[เกาะคีวชู]] เนื่องจากถูกกล่าวหาว่ามีส่วนร่วมในการวางแผนล้มล้างการปกตรอง
** มีการประดิษฐ์[[อักษรคานะ]] โดยพระคูไก ประกอบด้วยพยางค์ทั้งหมด 47 ตัว โดยดัดแปลงมาจากตัวอักษรของจีน และนำมาใช้กันอย่างกว้างขวาง นับเป็นการเปิดทางให้แก่งานเขียนที่มีรูปแบบเป็นของญี่ปุ่นอย่างแท้จริง และมีการใช้กันอย่างแพร่หลายแทนถ้อยคำสำนวนที่ยืมมาจากภาษาจีน
* [[พ.ศ. 1553]] (ค.ศ. 1010) - [[ชิกิบุ มุราซากิ]] เขียนนิยายเรื่อง [[เกนจิ โมโนงาตาริ]]
* [[พ.ศ. 1559]] (ค.ศ. 1016) - มิจินางะ ฟุจิวาระวะระ ได้เป็นผู้สำเร็จราชการแผ่นดิน และตระกูลฟุจิวาระวะระได้ก้าวเข้าสู่ยุคแห่งความรุ่งเรือง
** กลุ่มขุนนางที่ปกครองในส่วนภูมิภาคได้เริ่มตั้งตนเป็นหัวหน้าของพวกนักรบ หรือ พวกบูชิโด ที่เกิดจากการที่สมาชิกต่างๆของครอบครัวได้จัดตั้งองค์กรทางทหารของตนขึ้นมาทำการปกครองมณฑลต่างๆ
** ในตอนปลายของศตวรรษที่11 ได้เกิดการต่อสู้ระหว่างกองทหารของพวกนักรบในมณฑลทางเหนือหลายครั้ง และ[[ตระกูลมินาโมโตะ]]ได้มีชื่อเสียงและอิทธิพลที่สุดในแถบคันโต