ผลต่างระหว่างรุ่นของ "ไออาร์พีซี"

เนื้อหาที่ลบ เนื้อหาที่เพิ่ม
IrpcCO (คุย | ส่วนร่วม)
ไม่มีความย่อการแก้ไข
ไม่มีความย่อการแก้ไข
บรรทัด 3:
'''บริษัท ไออาร์พีซี จำกัด (มหาชน) ''' เป็นเจ้าของกลุ่มโรงงานปิโตรเลียมและปิโตรเคมี (Petoleum-Petrochemical complex) ครบวงจรแห่งแรกในเอเชียตะวันออกฉียงใต้ ตั้งอยู่ที่ตำบลเชิงเนิน อำเภอเมือง จังหวัดระยอง เป็นเขตประกอบอุตสาหกรรมภายใต้การจัดการของบริษัทฯ พร้อมด้วยสาธารณูปโภคพื้นฐานที่สนับสนุนการผลิต ได้แก่ ท่าเรือน้ำลึก คลังเก็บน้ำมัน และโรงไฟฟ้า
 
== กลุ่มโรงงานปิโตรเลียมและปิโตรเคมีของไออาร์พีซีประกอบด้วย 3 ส่วนหลัก ได้แก่ ==
== เหตุการณ์สำคัญ ==
* '''โรงกลั่นน้ำมัน''' มีกำลังการกลั่น 215,000 บาร์เรลต่อวัน ผลิตผลิตภัณฑ์ปิโตรเลียมได้หลากหลายชนิด เช่น ก๊าซปิโตรเลียมเหลว (LPG)แนฟทา น้ำมันเบนซิน น้ำมันดีเซล น้ำมันเตา สารละลาย และยางมะตอย
* ในเดือนกันยายน ปี [[พ.ศ. 2525]] เปิดโรงงานผลิตเม็ด[[พลาสติก]] โรงงานแรกของประเทศไทยและภูมิภาคเอเชียอาคเนย์
* '''โรงกลั่นน้ำมันหล่อลื่นพื้นฐาน'''ผลิตผลิตภัณฑ์หล่อลื่นพื้ยฐานและ ลองเรสซิดิว ตามลักษณะและความเหมาะสมในการนำไปใช้งาน ดังนี้
* [[พ.ศ. 2537]] เริ่มธุรกิจกลั่นน้ำมันด้วยโรงกลั่นน้ำมันดิบหน่วยแรก กำลังกลั่น 26,000 บาร์เรลต่อวัน
* 60 SN ใช้เป็นวัตถุดิบในการผลิตน้ำมันหล่อลื่นประเภทน้ำมันส่งกำลัง เช่นหม้อแปลงไฟฟ้า
* [[พ.ศ. 2539]] เพิ่มกำลังกลั่นของโรงกลั่นน้ำมันดิบหน่วยแรก เป็น 65,000 บาร์เรลต่อวัน
* 150 SN ใช้เป็นวัตถุดิบผลิตน้ำมันหล่อลื่นสำหรับอุตสาหกรรมการผลิต เช่น อุตสาหกรรมรถยนต์
* [[พ.ศ. 2540]] เดินเครื่องโรงผลิตสารอะโรมาติก (Aromatic plant) โรงผลิตก๊าซเอทิลลีน (Ethylene plant) โรงกลั่นน้ำมันหล่อพื้นฐาน (Lube base oil plant) และโรงแตกสลายโมเลกุลด้วยแคทตาลิส (Deep catatytic cracking plant)
* 500 SN ใช้เป็นวัตถุดิบสำหรับอุตสาหกรรมนำมันหล่อลื่นสำหรับรถยนต์เกือบทุกชนิด
* [[พ.ศ. 2542]] บริษัทฯ เริ่มเกิดปัญหาการล้มละลาย จนมีการนำมาซึ่งการฟื้นฟูกิจการ
* 150 BS ใช้ในอุตสาหกรรมและเครื่องจักรที่มีแรงเสียดทานมาก เช่น เครื่องยนต์รถบรรทุก รถไฟ เป็นต้น
* [[พ.ศ. 2543]] เดินเครื่องโรงกลั่นน้ำมันดิบหน่วยที่2 กำลังกลั่น 150,000 บาร์เรลต่อวัน ทำให้กำลังกลั่นรวมเป็น 215,000 บาร์เรลต่อวัน
* '''กลุ่มโรงงานปิโตรเคมี''' ประกอบด้วยโรงงานปิโตรเคมีขั้นต้นถึงขั้นปลาย ซึ่งนำแนฟทาและก๊าซปิโตรเลียมเหลวจากโรงกลั่นน้ำมัน ไปใช้เป็นวัตถุดิบตั้งต้น (Feedstock)สำหรับผลิตเป็นผลิตภัณฑ์ปิโตรเคมีขั้นต้น คือ สารโอเลฟินส์และสารอะโรเมติกส์ ซึ่งใช้ผลิตเป็นผลิตภัณฑ์ปิโตรเคมีขั้นปลาย ได้แก่ เม็ดพลาสติกชนิดต่างๆ เพื่อจำหน่ายให้ผู้ประกอบการขึ้นรูปพลาสติกและอุตสาหกรรมต่อเนื่อง
* [[พ.ศ. 2549]] ทีพีไอ เปลี่ยนชื่อเป็น ไออาร์พีซี
 
== แหล่งข้อมูลอื่น ==