ผลต่างระหว่างรุ่นของ "ความสิ้นหวังอันเกิดจากการเรียนรู้"

เนื้อหาที่ลบ เนื้อหาที่เพิ่ม
Luckas-bot (คุย | ส่วนร่วม)
r2.7.1) (โรบอต เพิ่ม: en:Learned helplessness
Taweetham (คุย | ส่วนร่วม)
ไม่มีความย่อการแก้ไข
บรรทัด 2:
 
ในการทดลองเกี่ยวกับ'''ความสิ้นหวังอันเกิดจากการเรียนรู้''' สัตว์จะถูกทำร้ายด้วยสิ่งเร้าที่ไม่พึงประสงค์ซึ่งสัตว์ไม่อาจหลบหลีกได้ ในที่สุดสัตว์จะหยุดการดิ้นรนที่จะหลุดพ้นจากความเจ็บปวดและสิ้นหวังที่จะเปลี่ยนแปลงสถานการณ์ได้ ในขั้นต่อมาแม้จะมีโอกาสที่จะหลบหลีกได้ความสิ้นหวังอันเกิดจากการเรียนรู้ทำให้สัตว์นั้นมิได้พยายามที่จะใช้โอกาสที่เกิดขึ้นและยอมฝืนทนรับต่อสิ่งเร้าที่ไม่พึงประสงค์
 
อย่างไรก็ดีความสิ้นหวังอันเกิดจากการเรียนรู้ในมนุษย์และสัตว์มีข้อแตกต่างกันหลายประการ หนึ่งในข้อแตกต่างที่โดดเด่นมากคือมนุษย์สามารถเรียนรู้ความสิ้นหวังได้จากการรับรู้ว่าผู้อื่นเผชิญกับเหตุการณ์ที่ไม่อาจควบคุมได้<ref>Bandura A. (1986). ''[[Social foundations of thought and action: A social cognitive theory]]''. Englewood Cliffs, NJ: Prentice-Hall. ISBN 013815614X</ref>
 
== อ้างอิง ==