ผลต่างระหว่างรุ่นของ "ผู้คัดค้านโดยอ้างมโนธรรม"

เนื้อหาที่ลบ เนื้อหาที่เพิ่ม
Taweetham (คุย | ส่วนร่วม)
ไม่มีความย่อการแก้ไข
Taweetham (คุย | ส่วนร่วม)
ไม่มีความย่อการแก้ไข
บรรทัด 2:
 
[[คณะกรรมการสิทธิมนุษยชนแห่งสหประชาชาติ]] (UNHCR) มีมติรับรองว่าการปฏิเสธการเกณฑ์ทหารด้วยมโนสำนึกเป็นการใช้เสรีภาพทางความคิด มโนสำนึก และศาสนาโดยชอบ และเป็นไปตามสิทธิใน[[กติการะหว่างประเทศว่าด้วยสิทธิพลเมืองและสิทธิทางการเมือง]] และขยายความไปว่าผู้ที่เป็นทหารอยู่อาจพัฒนาเป็นผู้ปฎิเสธการเกณฑ์ทหารด้วยมโนสำนึกก็ได้ ทั้งยังเรียกร้องและย้ำเตือนให้รัฐที่มีการเกณฑ์ทหารให้จัดระบบในการคัดกรองผู้ปฎิเสธการเกณฑ์ทหารด้วยมโนสำนึกอย่างเป็นธรรม และจัดให้มีการทำงานอื่นเพื่อสังคมแทนการฝึกทหารสำหรับบุคคลเหล่านี้
<ref>http://www.unhchr.ch/Huridocda/Huridoca.nsf/0/5bc5759a53f36ab380256671004b643a5bc5759a53f36ab380256671004b643a?Opendocument</ref><ref>http://www.unhchr.ch/Huridocda/Huridoca.nsf/TestFrame/3e63dcb94a1ae7a9802566ef005cf64a3e63dcb94a1ae7a9802566ef005cf64a?Opendocument</ref><ref>[http://www.bayefsky.com/pdf/korea_t5_iccpr_1321_1322_2004korea_t5_iccpr_1321_1322_2004.pdf HRC views in case Yoon and Choi v. Republic of Korea, communications nos. 1321-1322/2004]</ref> อนึ่ง UNHCR ยังสนับสนุนให้รัฐต่างๆ รับพิจารณาผู้ปฎิเสธการเกณฑ์ทหารด้วยมโนสำนึกเป็นผู้ลี้ภัยตาม [[the 1951 Convention relating to the Status of Refugees]] <ref>http://www.unhchr.ch/Huridocda/Huridoca.nsf/0/5bc5759a53f36ab380256671004b643a?Opendocument</ref>
== อ้างอิง ==