ผลต่างระหว่างรุ่นของ "ความยากจน"

เนื้อหาที่ลบ เนื้อหาที่เพิ่ม
N.M. (คุย | ส่วนร่วม)
แจ้งลบ
Horus (คุย | ส่วนร่วม)
ไม่มีความย่อการแก้ไข
บรรทัด 1:
'''ความยากจน''' เป็นสภาพซึ่งบุคคลขาดการครอบครองทรัพยากรหรือเงิน ความยากจนสัมบูรณ์ (absolute poverty) หรือความยากจนข้นแค้น (destitution) หมายถึง บุคคลที่ขาดความต้องการพื้นฐานของมนุษย์ ซึ่งโดยทั่วไปได้แก่ น้ำจืดและสะอาด โภชนาการ สาธารณสุข การศึกษา เครื่องนุ่งห่มและที่พักอาศัย มีการประเมินว่า ปัจจุบันมีประชากรราว 1,700 ล้านคนอาศัยอยู่ในความยากจนสัมบูรณ์ ความยากจนสัมพัทธ์ (relative poverty) หมายถึง การขาดระดับทรัพยากรหรือรายได้ตามปกติหรือระดับที่สังคมยอมรับเมื่อเทียบกับบุคคลอื่นในสังคมหรือประเทศ ในอดีตที่ผ่านมาส่วนใหญ่ ความยากจนถูกมองว่าหลีกเลี่ยงไม่ได้เช่นเดียวกับวิธีการผลิตดั้งเดิมไม่เพียงพอจะให้ประชากรทั้งหมดมีมาตรฐานการครองชีพที่สะดวกสบายได้ หลัง[[การปฏิวัติอุตสาหกรรม]] การผลิตขนานใหญ่ (mass production) ในโรงงานทำให้ความมั่งคั่งราคาถูกลงและเข้าถึงได้มากขึ้น ที่สำคัญกว่านั้น คือ การทำให้เกษตรกรรมทันสมัย เช่น [[ปุ๋ย]] เพื่อให้มีผลผลิตเพียงพอที่จะเลี้ยงประชากร
{{ลบ|ไม่เป็นสารานุกรม}}
 
'''ความยากจน''' --[[พิเศษ:เรื่องที่เขียน/203.152.19.179|203.152.19.179]] 22:29, 2 พฤษภาคม 2555 (ICT)คือ ความขาดแคลนปัจจัยซึ่งช่วยเกื้อหนุนการดำรงชีวิตให้มีระดับความเป็นอยู่ที่ดี มีอนามัย มีที่อยู่อาศัย มีเครื่องนุ่งห่ม มีอาหารและยารักษาโรค พร้อมทั้งมีสันทนาการอันเหมาะสมต่อสภาพเศรษฐกิจสังคม การเมือง และวัฒนธรรม ในระดับสากลนิยม ซึ่งพิจารณาว่าเหมาะสมต่อศักดิ์ศรีความเป็นมนุษย์
[[en:Poverty]]