ผลต่างระหว่างรุ่นของ "เดฌา-วูว์"

เนื้อหาที่ลบ เนื้อหาที่เพิ่ม
Tiemianwusi (คุย | ส่วนร่วม)
ย้อนกลับไปรุ่นที่ 3939521 โดย Aristitleism; ชอบลอกมาจริง ๆ น้า.
Erictennyson07 (คุย | ส่วนร่วม)
ไม่มีความย่อการแก้ไข
บรรทัด 1:
เดฌาวูว์ (ฝรั่งเศส: déjà vu, แปลว่า เคยเห็น) คำว่าเดจาวูได้บันทึกขึ้นมาจากนักจิตวิทยาชาวฝรั่งเศส Emile Boirac (1851–1917) ในหนังสือชื่อ L'Avenir des sciences psychiques เป็นอาการที่รู้สึกว่าเหตุการณ์ที่เพิ่งพบครั้งแรกนั้น เป็นเหตุการณ์ที่เคยเกิดมาแล้ว แต่จำไม่ได้ว่าเกิดขึ้นในฝันหรือในอดีต เป็นประสบการณ์ทางจิต ที่เกิดได้กับทุกคน และทุกเวลา เกิดได้แม้กระทั่งในเวลาตื่นโดยเราอาจจะคิดว่าเราเพ้อฝันไป เดจาวู (DEJA VU)
{{สั้นมาก}}
 
ดจาวู (DEJA VU) แปลว่า เคยได้พบเห็นมาแล้ว คำว่าเดจาวูได้บันทึกขึ้นมาจากนักจิตวิทยาชาวฝรั่งเศส Emile Boirac (1851–1917) ในหนังสือ L'Avenir des sciences psychiques (แปลว่า อนาคตของวิทยาศาสตร์จิตวิทยา) เคยไหม "รู้สึกเคยผ่านมาแล้ว" ญาณพิเศษ ทุกคนมี..ชาติก่อน, โลกคู่ขนาน, พลังจิต หรือรู้สึกไปเอง เดจาวู ไม่ใช่เรื่องใหม่ เป็นปรากฏการณ์ที่มนุษยชาติพบพาน ทุกเพศวัย ทุกชนชาติแห่งหน คำอธิบายที่เรามักอ้างให้ตัวเองคือ "คิดไปเองน่า" เราคิดไปเองจริงหรือ ?
'''เดฌาวูว์''' ({{lang-fr|déjà vu}}, แปลว่า เคยเห็น) เป็นคำที่ [[Emile Boirac|เอมีล บัวรัก]] (Emile Boirac) ใช้ในหนังสือ ''ลาเวอนีร์เดซีย็องส์ฟีซีกส์ (L'Avenir des sciences psychiques)'' เป็นคนแรก หมายความถึง อาการที่รู้สึกว่า เหตุการณ์ที่เพิ่งพบเจอนั้นคลับคล้ายคลับคลาว่าเคยพบเจอมาแล้ว เป็นประสบการณ์ทางจิต เกิดได้กับทุกคนและทุกเวลา ไม่ว่าหลับหรือตื่น
 
<big>'''ทฤษฎีแรก อดีตชาติ'''</big>
== อาการที่เกี่ยวข้อง ==
 
* [[ฌาเมวูว์]] ({{lang-fr|jamais vu}} แปลว่า ไม่เคยเห็น) เป็นอาการตรงกันข้ามกับ เดฌาวูว์ คือ เคยพบเจอเหตุการณ์นั้นมาแล้ว แต่จำไม่ได้
สิ่งใดก็ตามที่เคยเกิดไปแล้วในอดีต จะย้อนกลับมาเกิดซํ้าอีก เราจะผ่านประสบการณ์มากมาย และบางสิ่งอาจหลงเหลือในความทรงจำ แล้วย้อนกลับมาเกิดอีก ทำให้รู้สึกว่าเคยเห็นมาก่อน เดจาวู เป็นประสบการณ์ทางจิตวิญญาณ.. ศัพท์ทางวิทยาศาสตร์ เรียกว่า เดจาวู มันเกิดจากการที่ขณะหลับ จะมีการหลับอยู่หลายขั้น (ประมาณ 5 ขั้น) ถ้าเห็นอนาคตที่เคยทำ ก็จะอยู่ประมาณขั้นที่ 3 ยิ่งขั้นมากขึ้น ความสัมพันธ์กับร่างกายและวิญญาณ จะยิ่งห่างไกลกันออกไป ถ้าหลับลึกถึงขั้นที่ 5 ก่อนหลับจะรู้สึกชาตามร่างกายทั้งตัว ขยับตัวเองไม่ได้ พูดไม่ได้ (ลักษณะที่คนทั่วไปเรียกว่าถูกผีอำ) ถ้าหลับในสภาพนี้ อัตราค่าซิงโครกับร่างกายจะลดต่ำ ลงจนเหลือ 0 แล้ววิญญาณก็จะหลุดออกจากร่างกาย..
* [[แพร็สก์วูว์]] ({{lang-fr|presque vu}} แปลว่า เกือบเห็น) หรือ [[ติดอยู่ที่ปลายลิ้น]] (tip of the tongue, TOT) เป็นอาการที่รู้สึกว่ามีประสบการณ์หนึ่งที่คุ้นเคย แต่ไม่สามารถเรียกขึ้นมาจาก[[ความทรงจำ]]และพูดออกมาได้ โดย "ติดอยู่ที่ปลาย[[ลิ้น]]"
 
<big>'''ทฤษฎีที่สอง พลังจิต'''</big>
 
บ้างก็ว่า เดจาวู เป็นพลังจิตรูปหนึ่ง บ้างก็ว่าเป็นทิพจักขุญาณ (ความรู้คล้ายตาทิพย์) ซึ่งได้มาจากการเจริญสมถะภาวนาในหมวดของกสิณ 3 กองคือ
 
เตโชกสิณ (กสิณไฟ) โอทากสิณ (กสิณสีขาว) อาโลกสิณ (กสิณแสงสว่าง)
 
เราทุกคนมีพลังจิต เพียงแต่จะอ่อนจะเข้ม บางทีเพราะเราไม่ได้ฝึก จะเก็บกดไว้ภายใน วันดีคืนดีก็ล้นออกมา ตามตำรา ถ้าได้ฝึก เราสามารถควบคุมได้ มีนักพยากรณ์หลายคน พยากรณ์ได้จากการเพ่ง ว่ากันว่า มีผู้หนึ่งมีเดจาวูแรงกล้ามาก หาใครเปรียบได้ไม่ เขาชื่อ นอสตราดามุส ทฤษฎีที่สาม จักรวาลคู่ขนาน
 
<big>'''ทฤษฎีที่สาม จักรวาลคู่ขนาน'''</big>
 
อธิบายเกี่ยวกับ โลกคู่ขนาน หรือ จักรวาลคู่ขนาน ก่อนหมายถึง จักรวาลที่ดำเนินไปพร้อมกับจักรวาลที่เราอยู่นี้ ทฤษฎีนี้นักฟิสิกส์ริเริ่มคิดขึ้นมา มีเหตุการณ์ที่เราลังเลอยู่ 2 ทาง แต่เราก็ตัดสินใจไปทางหนึ่ง แล้วคิดไหมว่า ถ้า ณ วันนั้นเราติดสินใจเป็นอย่างอื่น อะไรจะเกิดขึ้นในโลกนี้ที่เรามีตัวตนอยู่ในขณะนี้ ขณะเดียวกันก็มีเราอีกคนหนึ่งในอีกโลกหนึ่ง และมีโลกคู่ขนานมากมายนับไม่ถ้วน..เช่น ขณะนี้เราได้ตัดสินใจบางสิ่ง ซึ่งนำไปสู่ความสำเร็จ ขณะที่อีกคนของเราได้ตัดสินใจไปอีกทางทำให้ชีวิตตนเอง และผู้อื่นเสียหาย ก็เป็นได้ อีกตัวอย่าง บางครั้งคุณอยากฆ่าตัวตายแต่คุณล้มเลิก บางทีคุณในโลกคู่ขนานอาจฆ่าตัวตายไปแล้วก็ได้อะไรประมาณนี้ ตัวอย่าง ปัญหาทางทฤษฎีมิติเวลา สมมติคุณเดินทางย้อนเวลาได้ เมื่อวานคุณเก็งหุ้นตัวหนึ่ง วันนี้หุ้นนั้นล้ม คุณล้มละลาย คุณเดินทางย้อนเวลาไปเตือนคุณในอดีตคุณในอดีตรู้คำเตือน และยกเลิกหุ้นตัวนั้น เมื่อวานคุณไม่ได้ถือหุ้นตัวนั้น ถ้าเช่นนั้น วันนี้คุณไม่ได้ล้มละลาย ในเมื่อคุณไม่ได้ล้มละลาย คุณก็ไม่ได้เดินทางย้อนเวลาไปบอกตัวเองในอดีต คุณในอดีตก็ไม่รู้ว่า หุ้นตัวนั้นจะล้ม และเก็งหุ้นตัวนั้นตกลงวันนี้คุณล้มละลายหรือเปล่า ทฤษฎีเกี่ยวกับโลกคู่ขนาน
<big>
'''ทฤษฎีเกี่ยวกับโลกคู่ขนาน'''</big>
 
จึงถูกคิดขึ้นเพื่ออธิบายปรากฏการณ์ความผันผวนของมิติเวลาเหล่านี้ ทุกๆเหตุการณ์ที่เรามี 2 ตัวเลือก จะเกิดโลกคู่ขนาน 2 โลก และจาก 2 โลก ถ้าเราเจอเหตุการณ์อื่นที่ต้องตัดสินใจ 2 ทาง แต่ละโลก จะเกิดโลกคู่ขนานอีก 2 โลก โลกคู่ขนานจึงมีจำนวน นับไม่ถ้วน จากตัวอย่างเรื่องหุ้น ทฤษฎีอธิบายว่า คุณไม่อาจเปลี่ยนอดีตของตัวได้ เมื่อคุณเดินทางไปบอกตัวเองให้เลิกหุ้นนั้น คุณในอดีต ที่ตัดสินใจไม่เอาหุ้นนั้น จะเกิดอนาคตที่วันนี้คุณไม่ล้มละลาย.. จริง แต่เป็น คนละอนาคต กับวันนี้ของคุณ ที่คุณล้มละลาย คือเกิดเป็น 2 โลก คุณกลับมาปัจจุบัน โลกวันนี้ คุณก็ยังล้มละลายอยู่ดี แต่โลกที่คุณย้อนไปบอก คุณอีกคนนั้นเขาไม่ล้มละลาย (ถ้าใครเคยดูการ์ตูนดราก้อนบอลแซดคงเข้าใจมากขึ้น ทรังค์ย้อนเวลาจากโลกที่ถูกหมายเลข 17,18 ทำลาย มาในปัจจุบัน ในที่สุดโลกที่เขามา ไม่ถูกทำลาย แต่เขากลับไป โลกของเขาก็ยังเป็นโลกที่ถูกทำลายอยู่ดี ไม่เช่นนั้นเขาจะมาได้อย่างไร) มีคนผูกทฤษฎีเดจาวู กับทฤษฎีจักรวาลคู่ขนาน กล่าวว่า การที่เรารู้สึกหรือเห็นภาพที่คล้ายว่าเคยทำมาก่อน นั่นแหละ คุณเคยทำจริง แต่เป็นคุณในอีกโลกหนึ่งต่างหากที่ได้ทำ คุณในทุก ๆ โลก ถูกผูกกันด้วยสายใยบางอย่าง อาจเป็นเพราะ สมองมีคลื่นตรงกัน ก็เป็นคุณคนเดียวกันนี่นา ในบางจังหวะที่เหมาะสม กระแสประสาทจูนกัน คุณก็ได้รับรู้ถึงกระแสความคิดจากคุณในอีกโลก
 
<big>'''ทฤษฎีสุดท้าย คิดไปเอง'''</big>
 
ตามแนวคิดของหลักวิทยาศาสตร์อธิบายว่า เกิดจากสมองแปลข้อมูลผิดพลาด พูดง่าย ๆ ก็คือ ไม่ได้เห็นมาแล้วหรอก แต่คิดไปว่าเห็นมาแล้ว ทางการแพทย์เรียกว่า การไหลของคลื่นกระแสไฟฟ้าในสมองเกิดการผิดปกติ ทำให้การกระทำที่กำลังทำอยู่ ณ ขณะนั้น คลับคล้ายว่าเคยเกิดมาก่อนหน้านี้มาแล้ว แต่ไม่สามารถจำเวลาได้..สมองคนเราก็เหมือนเครื่องจักรย่อมเกิดข้อผิดพลาด บ้างอธิบายว่า เดจาวู เกิดจากเมื่อสมองรับภาพมาจากประสาทตา ก็นำมาแปลความหมาย สมองมี 2 ซีก ตามี 2 ข้าง ประสาทตาซ้ายเข้าสมองซีกขวา ประสาทตาขวาเข้าสมองซีกซ้ายฉะนั้นสมองทั้งสอง ต้องทำงานประสานกันและกันอย่างมาก เมื่อเกิดสมองข้างหนึ่ง เกิดส่งข้อมูลมาช้าไปเพียงนิดเดียว ทำให้สมองแปลความหมายของภาพนั้นว่า เป็นภาพจากความจำไม่ใช้ปัจจุบันทำให้รู้สึกว่าเหตุการณ์ที่เจอนั้นเคยเห็นมันมาก่อน.. มีหลักฐานว่า โดยส่วนมาก คนที่เป็นลมบ้าหมู หรือมีประวัติคนในครอบครัวเป็น จะมีโอกาสเกิดบ่อยกว่า และมีโอกาสเกิดบ่อยมากขึ้น ก่อนที่จะมีอาการชักกระตุก
 
<big>'''หลักฐานอ้างอิง เหตุการณ์ที่รัสเซีย'''</big>
 
ครั้งที่จักรพรรดินโปเลียนบุกรัสเซียในปี ค.ศ.1812 ภริยาของท่านเคานท์ตูชคอฟ นายพลรัสเซีย ได้ฝันว่า เธออยู่ในโรงเตี๊ยมของเมืองหนึ่ง ซึ่งเธอไม่เคยเห็นมาก่อน แล้วบิดาของเธอก็เข้ามาในห้อง อุ้มลูกชายคนเล็กของเธอมาด้วย และบอกแก่เธออย่างเศร้าสร้อยว่า สามีของเธอเสียชีวิตในการศึกแล้ว “ความสุขของลูกจบสิ้นแล้ว” ผู้เป็นบิดากล่าว “สามีของลูกได้ล้มลง และสิ้นใจที่โบโรดิโน” ฝันนี้บังเกิดขึ้นแก่เธออีกสองครั้งจนเธอได้เล่าให้สามีฟัง ทั้งสองค้นหาดูในแผนที่ แต่ไม่พบเมืองโบโรดิโนแต่อย่างใด
 
ทว่าในวันที่ 7 กันยายน 1812 ทัพรัสเซียได้ถอยร่นและต่อสู้กับฝรั่งเศสอย่างดุเดือดที่ตำบลเล็กๆชื่อโบโรดิโน ห่างทางตะวันตกของกรุงมอสโก 70 ไมล์ โดยเคาน์เตสส์ตูชคอฟกับครอบครัวพักอยู่ที่โรงเตี๊ยม ไม่ไกลจากแนวรบที่สามีของเธอเป็นผู้บัญชาการเท่าใดนัก เช้ารุ่งขึ้น บิดาได้อุ้มลูกชายคนเล็กของเธอเข้ามาในห้องและกล่าวว่า “สามีของลูกได้ล้มลง และสิ้นใจที่โบโรดิโน”
 
<big>'''เหตุการณ์บนเรือ ซิตี้ออฟไลม์ริค'''</big>
 
ส่วนเหตุการณ์ที่ผสมผสานถึงฝันกึ่งจริงได้เคยเกิดขึ้นในปี ค.ศ.1963 บนเรือ “ซิตี้ออฟไลม์ริค” ที่แล่นจากลิเวอร์พูลไปนิวยอร์ก และเผชิญกับพายุกลางมหาสมุทรแอตแลนติกนานกว่าสัปดาห์ ทำให้ ครอบครัวทางบ้านต่างพะวงเป็นห่วงผู้โดยสารที่อยู่บนเรือ หลังคลื่นลมสงบ วิลมอท หนึ่งในผู้โดยสารจึงหลับสนิทได้ เขาฝันว่าได้เห็นภรรยาในชุดนอน เดินเข้ามาในห้องพัก เธอชะงักลังเลเมื่อพบว่ามันเป็นห้องคู่ และมีชายอีกคนหนึ่งนอนอยู่เตียงบนเหนือสามีเธอ ชายผู้นั้นจ้องดูเธอ ครั้นแล้วเธอก็ได้ตรงไปหาสามีที่เตียง จุมพิตเขา และออกไปอย่างเงียบๆ
 
วิลมอทตื่นขึ้นและเห็นชายที่อยู่ข้างบนกำลังมองเขาอยู่ ชายนั้นชื่อเตท อยู่ในอาการตะลึงงัน ที่ได้เห็นสตรีเข้ามาเยี่ยมเยือนวิลมอท เขาเล่าให้วิลมอทฟังถึงลักษณะของเธอและเหตุการณ์ซึ่งตรงกับที่วิลมอทฝันทุกประการ เมื่อวิลมอทกลับถึงบ้าน ภรรยาได้ถามว่า รู้สึกหรือไม่ว่ามีใครไปเยี่ยมเขาเมื่อสัปดาห์ที่แล้ว โดยในตอนสี่โมงเช้าของวันหนึ่งเธอรู้สึกเคลิ้มไปว่า เธอได้ไปหาเขา เธอผ่านความมืดแห่งท้องทะเลขึ้นไปบนเรือกลไฟลำหนึ่ง เดินจากดาดฟ้าลงไปยังห้องพักข้างล่างและได้พบเขา “คุณอยู่ในห้องพักที่มีเตียงบนด้วยใช่มั้ย ผู้ชายที่นอนอยู่บนนั้นจ้องมาที่ฉัน ทำให้ฉันกลัวไม่กล้าเข้าไป แต่แล้วฉันก็เดินไปที่เตียงคุณ ก้มลงจูบแล้วก็ออกจากห้องไป” เธอเล่า
 
นอกจากนี้ ก็ยังมีเดจาวูอื่นๆ ที่เราอาจเคยได้ยินได้ฟังกัน อย่างเช่นเมื่อได้พบใครเป็นครั้งแรกแล้วเกิดอาการ “ปิ๊ง” ขึ้นมาทันที...ใช่เลย เขาคนนี้แหละที่เคยปรากฏในจินตนาการของเรา หรือบางคนที่เคยเขียนภาพทิวทัศน์จากจินตนาการ แล้วก็ได้ไปพบทัศนียภาพนั้นตรงกับที่เขียนไว้เป๊ะๆ... เนินตรงนั้น...ต้นไม้ใหญ่ตรงนั้น...วัวกำลังยืนเคี้ยวเอื้องอยู่ตรงนั้น
 
บางคนมีประสบการณ์เดจาวูที่น่าอกสั่นขวัญหาย นั่นคือได้เกิดเห็นภาพนิมิตเป็นอุบัติเหตุบนท้องถนน เห็นภาพรถพังพินาศ คนบาดเจ็บและตายเกลื่อนและแล้วต่อจากนั้นไม่นาน เขาก็ผ่านไปพบเห็นอุบัติเหตุกับตาจริงๆ ทุกอย่างตรงกับภาพนิมิตที่เขาได้เห็นล่วงหน้า
 
== <big>'''อาการที่เกี่ยวข้อง =='''</big>
 
* [[ฌาเมวูว์]] ({{lang-fr|ฝรั่งเศส: jamais vu}} แปลว่า ไม่เคยเห็น) เป็นอาการตรงกันข้ามกับ เดฌาวูว์จาวู คือ จำเรื่องที่คุ้นเคยพบเจอเหตุการณ์นั้นมาแล้ว แต่จำในอดีตไม่ได้
* [[แพร็สก์วูว์]] ({{lang-fr|ฝรั่งเศส: presque vu}} แปลว่า เกือบเห็น) หรือ [[ติดอยู่ที่ปลายลิ้น]] (tipTip of the tongue, TOT) เป็นอาการที่รู้สึกว่ามีประสบการณ์หนึ่งที่คุ้นเคย แต่ไม่สามารถเรียกขึ้นมาจาก[[ความทรงจำ]]และพูดออกมาได้ โดย "ติดอยู่ที่ปลาย[[ลิ้น]]"
โดย "ติดอยู่ที่ปลายลิ้น"
 
<big>'''อ้างอิง'''</big>
 
^ Berrios, G.E. (1995). "Déjà vu and other disorders of memory during the nineteenth century". Comprehensive Psychiatry 36: 123–129.
 
^ Titchener, E. B. (1928). A textbook of psychology. New York: Macmillan
 
^ "The Meaning of Déjà Vu", Eli Marcovitz, M.D. (1952). Psychoanalytic Quarterly, vol. 21, pages: 481-489
 
^ The déjà vu experience, Alan S. Brown, Psychology Press, (2004), ISBN 0-203-48544-0, Introduction, page 1
 
^ Pierre Janet (1942). Les Dissolutions de la Mémoire. Quoted in Tolland. Disorders of Memory, 1969, p.152
 
^ Brown, A. S. (2004). The déjà vu illusion. Current Directions in Psychological Science, 13, 256-259.
 
^ a b Brown, Alan S. (2004). The Déjà Vu Experience. Psychology Press. ISBN 1841690759.
 
^ Neurology Channel
 
^ Howstuffworks "What is déjà vu?"
 
 
^ Taiminen, T.; Jääskeläinen, S. (2001). "Intense and recurrent déjà vu experiences related to amantadine and phenylpropanolamine in a healthy male". Journal of Clinical Neuroscience 8 (5): 460–462. doi:10.1054/jocn.2000.0810. PMID 11535020. edit
 
^ Bancaud, J.; Brunet-Bourgin; Chauvel; Halgren (1994). "Anatomical origin of déjà vu and vivid 'memories' in human temporal lobe epilepsy". Brain : a journal of neurology 117 (1): 71–90. PMID 8149215. edit
 
^ a b Cleary, Anne M. (2008). "Recognition memory, familiarity and déjà vu experiences". Current Directions in Psychological Science 17 (5): 353–357. doi:10.1111/j.1467-8721.2008.00605.x.
 
^ Banister H, Zangwill OL (1941). "Experimentally induced olfactory paramnesia". British Journal of Psychology 32: 155–175.
 
^ Banister H, Zangwill OL (1941). "Experimentally induced
visual paramnesias". British Journal of Psychology 32: 30–51.
 
^ Fisher, J. (1984). The case for reincarnation. New York: Bantam Books.
 
^ Stevenson, I. (1987). Children who remember past lives. Charlottesville, VA: University Press of Virginia.
 
^ Anthony Peake Is There Life After Death? The Extraordinary Science of What Happens When We Die Arcturus Publishing Limited, 2012 ISBN 184837299X
 
^ Ahuja, Anjana (2006-07-24). "Doctor, I've got this little lump on my arm . . . Relax, that tells me everything". London: Times Online. Retrieved 2010-05-01.
 
^ Grinnel, Renée (2008), Déjà Entendu, PsychCentral, retrieved 04-10-2011
 
^ Mental Status Examination Rapid Record Form
 
^ "Monty Python's Flying Circus: Just the Words - Episode 16". Ibras.dk. Retrieved 2012-03-23.
 
^ http://www.imdb.com/title/tt0539356/
 
==แหล่งข้อมูลอื่น==