ผลต่างระหว่างรุ่นของ "จ้วง"

เนื้อหาที่ลบ เนื้อหาที่เพิ่ม
บรรทัด 27:
| align = right
| direction = vertical
| width = 150200
| image1 = Manuscripts in the Yunnan Nationalities Museum - DSC03933.JPG
| caption1 = สืบดิบผู้จ่อง
บรรทัด 62:
|}
</center>
 
แม้ว่าภาษาจ้วงจะจัดอยู่ในกลุ่ม[[ภาษาไท-กะได]] แต่ได้รับอิทธิพลอย่างสูงจากภาษาจีนถิ่นตะวันตกเฉียงใต้<ref name="Li&Huang">{{Cite book|title=Language Policy in the People's Republic of China: Theory and Practice Since 1949|editor1-first=Minglang|editor1-last=Zhou|editor2-first=Hongkai|editor2-last=Sun|publisher=Springer|year=2004|chapter=The Introduction and Development of the Zhuang Writing System|first=Xulian|last=Li|first2=Quanxi|last2=Huang|page=240}}</ref> ชาวจ้วงเองซึ่งอยู่ต่างพื้นที่กัน มักใช้[[ภาษาจีนกลาง]] หรือ[[ภาษาจีนกวางตุ้ง|จีนกวางตุ้ง]]เป็นภาษากลางเพื่อสื่อสารกันระหว่างกลุ่ม<ref name="Myusken">{{Cite book|title=From Linguistic Areas to Areal Linguistics|first=Pieter|last=Muysken|publisher=John Benjamins Publishing|year=2008|pages=226, 247}}</ref> จากการสำรวจในปี ค.ศ. 1980 พบว่าชาวจ้วงร้อยละ 42 ยังคงใช้ภาษาจ้วงเป็นภาษาแม่ ขณะเดียวกันก็มีชาวจ้วงที่ใช้สองภาษา คือ จีนและจ้วง มีถึงร้อยละ 55 ขณะที่การศึกษาภาคบังคับของชาวจ้วงในเขตปกครองตนเองกว่างซี เป็นแบบสองภาษา คือ จีนกลาง และจ้วง โดยมุ่งเน้นการอ่านออกเขียนได้ในภาษาจ้วงขั้นต้นเท่านั้น<ref name="Li&Huang"/>
 
== วัฒนธรรม ความเชื่อ ศาสนา ==
เข้าถึงจาก "https://th.wikipedia.org/wiki/จ้วง"