ผลต่างระหว่างรุ่นของ "จ้วง"

เนื้อหาที่ลบ เนื้อหาที่เพิ่ม
ไม่มีความย่อการแก้ไข
บรรทัด 35:
[[ภาษาจ้วง]]แบ่งเป็นกลุ่มหลักได้สองสำเนียงคือ ภาษาจ้วงเหนือ และจ้วงใต้<ref name="ภาษา">'''ชาวจ้วง'''. หน้า 103</ref> ด้วยปัจจัยทางภูมิศาสตร์และประวัติศาสตร์ ทำให้เสียงและคำศัพท์ของภาษาจ้วงในแต่ละท้องที่ มีความแตกต่างกัน นอกจากสำเนียงหลักสองสำเนียงแล้ว ยังมีสำเนียงท้องถิ่นอีก 13 สำเนียง<ref name="ภาษา"/> แต่ด้านไวยากรณ์แทบไม่มีความแตกต่างกัน สำเนียงจ้วงเหนือมีผู้ใช้จำนวนร้อยละ 80 ของประชากร และหากเปรียบเทียบคำศัพท์ระหว่างจ้วงเหนือและจ้วงใต้ก็จะพบคำศัพท์ที่ใช้เหมือนกันถึงร้อยละ 60<ref name="ภาษา"/>
 
เดิมภาษาจ้วงมีอักษรของตนเองที่สร้างตามแบบ[[อักษรจีน|อักษรฮั่น]]ที่เริ่มตั้งแต่คริสต์ศตวรรษที่ 1<ref name="ภาษา"/> เรียกว่า [[สือดิบผู้จ่อง]] ([[ไฟล์:Sawndip.svg|35px]]) แต่ได้มีการประดิษฐ์อักษรจ้วงขึ้นใหม่ที่พื้นฐานมาจากอักษรละตินในช่วงตอนกลางทศวรรษที่ 1950 และต่อมาได้กำหนดให้อักษรดังกล่าวเป็นอักษรของชนชาติจ้วงตามกฎหมาย<ref name="ภาษา"/> ด้วยเหตุที่มีผู้ใช้ภาษาจ้วงเหนือมากกว่าจ้วงใต้ จึงใช้ภาษาจ้วงเหนือเป็นภาษาพื้นฐาน และถือสำเนียงจ้วงเหนือที่อำเภออู่หมิงเป็นสำเนียงมาตรฐานมาใช้สร้างตัวหนังสือจ้วง<ref name="ภาษา1">'''ชาวจ้วง'''. หน้า 104</ref>
<center>
{|class="wikitable"
เข้าถึงจาก "https://th.wikipedia.org/wiki/จ้วง"