ผลต่างระหว่างรุ่นของ "เครื่องแบบนักเรียนญี่ปุ่น"

เนื้อหาที่ลบ เนื้อหาที่เพิ่ม
บรรทัด 28:
บางครั้งรองเท้าและถุงเท้าก็ถูกนับรวมเป็นส่วนหนึ่งของเครื่องแบบ ถุงเท้าโดยทั่วไปเป็นสีกรมท่าและสีขาว รองเท้าเป็นรองเท้าส้นเตี้ยสีน้ำตาลและสีดำ ซึ่งถุงเท้าย่นๆเป็นที่นิยมมากในกลุ่มเด็กผู้หญิง แม้จะไม่ได้เป็นส่วนหนึ่งของเครื่องแบบก็ตาม ไอติ่งสุภาพ จอมกวนตีน เหี้ยภาพ
 
ติ่งภาพเหี้ย
== ความสำคัญเชิงวัฒนธรรม ==
[[ไฟล์:Wikipe-tan sailor fuku.png|thumb|right|130px|ตัวการ์ตูนในเครื่องแบบนักเรียนหญิง]]
 
โรงเรียนแต่ละโรงเรียนมีเครื่องแบบแตกต่างกันไป เครื่องแบบนักเรียนมักทำให้นักเรียนที่จบไปแล้วหวนรำลึกถึงความหลังอันเป็นสัญลักษณ์ของวัยเด็กอันสดใส นักเรียนบางคนดัดแปลงเครื่องแบบเพื่อสร้างความเป็นตัวของตัวเอง เช่น ทำกระโปรงให้สั้นลงหรือยาวขึ้น ไม่ผูกริบบิ้น ซ่อนตราโรงเรียนไว้ในปกเสื้อ ฯลฯ
 
เนื่องจากเครื่องแบบนักเรียนหญิงของญี่ปุ่นนั้นเป็นสิ่งที่ให้ความรู้สึกทางเพศกับคนบางกลุ่มได้ จึงมีการขายชุดนักเรียนหญิงที่ใช้แล้วตามร้านค้าที่เรียกว่า [[บุรุเซะระ]] แม้ว่าปัจจุบันการขายเช่นนี้จะเป็นสิ่งผิดกฎหมายก็ตาม เครื่องแบบนักเรียนหญิงยังมีบทบาทอย่างมากในวัฒนธรรม[[โอะตะกุ]] สื่อบันเทิงประเภท[[อะนิเมะ]]และ[[มังกะ]]มักจะมีตัวละครในชุดเครื่องแบบนักเรียนอยู่ด้วยเสมอ
 
== อ้างอิง ==