ผลต่างระหว่างรุ่นของ "ผ้าไหมแพรวา"

เนื้อหาที่ลบ เนื้อหาที่เพิ่ม
Sasakubo (คุย | ส่วนร่วม)
Horus (คุย | ส่วนร่วม)
ปรับการเขียน
บรรทัด 1:
{{ความหมายอื่น|ผ้า|บุคคลที่ก่ออุบัติในประเทศไทยปลาย พ.ศ. 2553|เหตุการณ์รถตู้สาธารณะถูกชนบนทางยกระดับอุตราภิมุข พ.ศ. 2553}}
{{issues|ต้องการอ้างอิง=yes|โปร=yes}}
[[ไฟล์:แพรวากาฬสินธุ์.jpg|thumb|200px|right|ผ้าไหมแพรวากาฬสินธุ์]]
 
'''แพรวา''' หรือ ผ้าแพรวาเป็น[[ผ้าทอมือ]]อันเป็นเอกลักษณ์ของ[[ชาวผู้ไท]]ใน[[จังหวัดกาฬสินธุ์]]{{อ้างอิง}} มีลักษณะเช่นเดียวกับผ้าสไบ ที่ใช้กันในหมู่ชาวไทยทั่วไป แต่มีสีสัน ลวดลาย ที่หลากหลายมากมาย และนิยมทอด้วยไหมทั้งผืน นับเป็น[[ผ้าไทย]]อีกรูปแบบหนึ่งที่ได้นับความนิยมสูงในหมู่ผู้นิยมผ้าไทยทั้งที่อยู่ในประเทศและต่างประเทศ
 
{{ความหมายอื่น|ผ้า|บุคคลที่ก่ออุบัติในประเทศไทยปลาย พ.ศ. 2553|เหตุการณ์รถตู้สาธารณะถูกชนบนทางยกระดับอุตราภิมุข พ.ศ. 2553}}
'''แพรวา''' หรือ ผ้าแพรวาเป็น[[ผ้าทอมือ]]อันเป็นเอกลักษณ์ของ[[ชาวผู้ไท]]ใน[[จังหวัดกาฬสินธุ์]] มีลักษณะเช่นเดียวกับผ้าสไบ ที่ใช้กันในหมู่ชาวไทยทั่วไป แต่มีสีสัน ลวดลาย ที่หลากหลายมากมาย และนิยมทอด้วยไหมทั้งผืน นับเป็น[[ผ้าไทย]]อีกรูปแบบหนึ่งที่ได้นับความนิยมสูงในหมู่ผู้นิยมผ้าไทยทั้งที่อยู่ในประเทศและต่างประเทศ
 
== การทอ ==
การทอผ้าแพรว่านั้น มีลักษณะที่คล้ายคลึงกับการทอ[[ผ้าจก]] นั่นคือใช้มือจก ยกเส้นด้ายยืน แล้วสอดด้ายสีไปตามลายผ้าที่ต้องการ ชาวผู้ไทยืนยันว่าการทอแพรวาแบบผู้ไทแท้นั้น จะไม่ใช้อุปกรณ์อื่นช่วย ไม่ว่าจะเป็นเข็ม ไม้ หรือขนเม่น นอกจากนี้ยังให้ด้านหลังของลายอยู่ด้านบนของกี่ (การทอแบบจกหลายแห่งก็ทอแบบนี้) ส่วนกี่ทอผ้าแพรวานั้น เท่าที่สำรวจ พบแต่กี่ขนาดใหญ่ ขณะที่ผ้าจกนั้นมีกี่ (ฟืม) ขนาดแคบพอดีกับหน้ากว้างของผ้า (เดิมนั้นชาวผู้ไทคงมีกี่หน้าแคบสำหรับทอแพรวา หรือทอผ้าอื่นๆ แต่ปัจจุบันไม่ปรากฏกี่หน้าแคบเลย)
 
===ลวดลาย===
เส้น 18 ⟶ 17:
 
===สีที่ใช้===
ผ้าแพรวาของชาวผู้ไทแต่เดิมนั้น มีโทนสีเป็นสีแดงคล้ำ หรือสีปูน เป็นหลัก เท่าที่สำรวจในแหล่งต่างๆ ไม่เคยเห็นผ้าแพรวาที่เก่ามากๆ เกิน 50-60 ปี เข้าใจว่าถูกซื้อไปจนหมด แม้กระทั่งในพิพิธภัณฑ์หลายที่อีสานก็ไม่มี {{อ้างอิง}}
 
ผ้าแพรวาที่ทอในปัจจุบันจึงมีสองลักษณะ คือผ้าหน้าแคบขนาดแพรวาแบบเดิม (ผลิตน้อย) กับขนาดหน้ากว้างประมาณ 1 เมตร สำหรับการตัดเย็บใช้สอยอื่นๆ
 
== การทอในปัจจุบัน ==
การทอผ้าแพรวาปัจจุบันได้รับการส่งเสริมจาก [[มูลนิธิส่งเสริมศิลปาชีพในสมเด็จพระนางเจ้าสิริกิติ์ พระบรมราชินีนาถ]] ทำให้มีการสืบทอดศิลปะการทอผ้าแพรวาแพร่หลายมากขึ้น เป็นที่นิยมมากขึ้น ความต้องการผ้าแพรวามรท้องตลาดจึงมีเพิ่มขึ้น จึงความพยายามผลิตผ้าให้ผู้คนได้ซื้อหลากหลายทั้งในด้านลวดลาย สีสัน และยังอาจใช้วิธียกเขา เพื่อความรวดเร็ว แทนที่จะใช้นิ้วยกด้ายสอดเช่นเดิม ความประณีตของลวดลายจึงต้องลดทอนลงไป เนื่องจากการยกเขานั้นเหมือนการทำพิมพ์ ที่จะต้องปรากฏลายซ้ำๆ เป็นช่วงๆ ในรอบหนึ่งๆ ของพิมพ์
 
การทอผ้าแพรวาปัจจุบันได้รับการส่งเสริมจาก [[มูลนิธิส่งเสริมศิลปาชีพในสมเด็จพระนางเจ้าสิริกิติ์ พระบรมราชินีนาถ]] ทำให้มีการสืบทอดศิลปะการทอผ้าแพรวาแพร่หลายมากขึ้น เป็นที่นิยมมากขึ้น ความต้องการผ้าแพรวามรท้องตลาดจึงมีเพิ่มขึ้น จึงพยายามผลิตผ้าให้ผู้คนได้ซื้อหลากหลายทั้งในด้านลวดลาย สีสัน และยังอาจใช้วิธียกเขา เพื่อความรวดเร็ว แทนที่จะใช้นิ้วยกด้ายสอดเช่นเดิม ความประณีตของลวดลายจึงต้องลดทอนลงไป เนื่องจากการยกเขานั้นเหมือนการทำพิมพ์ ที่จะต้องปรากฏลายซ้ำๆ เป็นช่วงๆ ในรอบหนึ่งๆ ของพิมพ์
 
ความสวยงามของผ้านั้นอยู่ที่ความประณีตของการทอ ความสม่ำเสมอของลวดลาย ไม่หลุดตกบกพร่อง หรือขาด หากทอด้วยมือทั้งผืน ความสม่ำเสมอของลวดลายจะน้อยกว่าการใช้เขาเก็บลาย แต่ลวดลายจะมีความอ่อนช้อย แน่น ไม่โปร่ง ด้านหลังของผ้ามีความเป็นระเบียบ ไม่โยงเส้นด้ายยาวเกินไป และใช้สีสันที่หลากหลายกว่า
 
ปัจจุบันมีการส่งเสริมการทอผ้าแพรวาในโครงการส่งเสริมศิลปาชีพฯ หลายแห่งในภาคอีสาน โดยใช้เส้นไหมจากโรงงาน ผ้าที่ได้จึงมีความเรียบเนียนเป็นพิเศษ
 
== แหล่งผลิตผ้าแพรวา ==
แหล่งผลิตผ้าแพรวาที่สำคัญ คือ ที่บ้านโพน อำเภอคำม่วง จังหวัดกาฬสินธุ์ นอกจากนั้นยังมีที่ศูนย์ศิลปาชีพกุดนาขาม จังหวัดสกลนคร และโครงการส่งเสริมศิลปาชีพอื่นๆ ในแถบจังหวัดนครพนม สกลนคร หนองคาย และมุกดาหาร