ผลต่างระหว่างรุ่นของ "แก๊สธรรมชาติ"

เนื้อหาที่ลบ เนื้อหาที่เพิ่ม
Sasakubo (คุย | ส่วนร่วม)
→‎แหล่งข้อมูลอื่น: ลิงก์ปลายทางไม่มีหรือถูกยกเลิกไปแล้ว
Sasakubo (คุย | ส่วนร่วม)
ไม่มีความย่อการแก้ไข
บรรทัด 1:
{{ต้องการอ้างอิง}}
[[ไฟล์:Natural gas production world.PNG|thumb|ประเทศผู้ผลิตแก๊สธรรมชาติ]]
'''แก๊สธรรมชาติ''' ({{lang-en|Natural gas}})<ref>[http://rirs3.royin.go.th/coinages/webcoinage.php ศัพท์บัญญัติราชบัณฑิตยสถาน] natural gas</ref> เป็นสารประกอบ[[ไฮโดรคาร์บอน]]ชนิดหนึ่งที่ประกอบด้วย[[ไฮโดรเจน]]และ[[คาร์บอน]]ที่เกิดจากการทับถมของซากพืชซากสัตว์ประเภทจุลินทรีย์ที่มีอายุหลายร้อยล้านปี ซึ่งสามารถแยกส่วนประกอบได้ เป็น[[มีเทน]] [[อีเทน]] [[โพรเพน]] [[บิวเทน]] [[เพนเทน]] เป็นต้น หรือ หมายถึง ปิโตรเลียมที่มีสภาพเป็นแก๊ส ณ ที่อุณหภมูณหภูมและความดันมาตรฐาน 15.6 [[องศาเซลเซียส]] และ 101 กิโลปาสคาล
 
โดยในแหล่งธรรมชาติอาจมีเฉพาะ มีเทน หรือ อีเทน ล้วนๆ ล้วนหรืออาจ เจือปนโพรเพน และบิวเทนในบางแหล่ง ซึ่งถ้าแยกโพรเพน และบิวเทน ออกมาบรรจุลงในถังแก๊ส เรียกว่า [[แก๊สปิโตรเลียมเหลว]] (Liquefied Petroleum Gas) หรือ LPG หรือ [[แก๊สหุงต้ม]]
 
แก๊สธรรมชาติไม่มีสี ไม่มีกลิ่น ไม่มีสารพิษ ถือว่าเป็นผลิตภัณฑ์ที่ปลอดภัยสูงสุดผลิตภัณฑ์หนึ่งในปัจจุบัน เมื่อเผาไหม้แล้วจะเป็นเชื้อเพลิงสะอาดและส่งผลกระทบแก่[[สิ่งแวดล้อม]]น้อยมาก เมื่อเปรียบเทียบกับ[[น้ำมันเตา]]และ[[แก๊สหุงต้ม]] ด้วยเหตุนี้อารยประเทศหลายประเทศจึงนิยมใช้แก๊สธรรมชาติมาอย่างยาวนาน
 
โดยทั่วไปสามารถแบ่งออกตามสมบัติทางเทคนิคได้ 4 ประเภท ดังนี้