ผลต่างระหว่างรุ่นของ "ลิงลมเหนือ"

เนื้อหาที่ลบ เนื้อหาที่เพิ่ม
หน้าใหม่: {{Taxobox | name = Bengal slow loris{{Sfn|Groves|2005|pp=122–123}} | image = Captive N. bengalensis from Laos with 6-week baby.JPG | status = VU | status_system = iucn...
(ไม่แตกต่าง)

รุ่นแก้ไขเมื่อ 10:42, 21 เมษายน 2555

Bengal slow loris[1]
สถานะการอนุรักษ์
CITES Appendix I (CITES)
การจำแนกชั้นทางวิทยาศาสตร์
อาณาจักร: Animalia
ไฟลัม: Chordata
ชั้น: Mammalia
อันดับ: Primates
วงศ์: Lorisidae
สกุล: Nycticebus
สปีชีส์: N.  bengalensis
ชื่อทวินาม
Nycticebus bengalensis
(Lacépède, 1800)
แผนที่แสดงการกระจายพันธุ์ของลิงลมเหนือ
ชื่อพ้อง[3][4]

ลิงลมเหนือ หรือ ลิงลมเบงกอล (อังกฤษ: Bengal slow loris, Northern slow loris; ชื่อวิทยาศาสตร์: Nycticebus bengalensis) เป็นสัตว์เลี้ยงลูกด้วยนมชนิดหนึ่ง ในอันดับวานร (Primate) ในวงศ์ลิงลม (Lorisidae)

จัดเป็นลิงลมชนิดหนึ่ง ที่ถูกจัดเป็นลิงลมชนิดหนึ่งที่พบได้ในประเทศไทย นอกจากลิงลมใต้ (N. coucang) ที่เพิ่งการจำแนกออกเป็นชนิดใหม่ที่พบได้ในประเทศไทย

เป็นลิงลมที่มีขนาดใหญ่ มีน้ำหนักตัว 900-1,400 กรัม ความยาวลำตัวจากหัวและลำตัว 325-360 มิลลิเมตร ใบหูมองเห็นได้ชัดเจน โยจะจมหายไปกับขนบนหัว สีขนมีความแตกต่างหากหลายกันไปตามสภาพพื้นที่ ตั้งแต่ สีเทาอมครีม, สีครีม, สีน้ำตาลอ่อน, สีส้มหม่น มีเส้นพาดกลางหลังสีน้ำตาลจรดหาง บนใบหน้าไม่ปรากฏเส้นพาดสีดำไปยังหูทั้ง 2 ข้าง และไปยังดวงตา 2 ข้าง เป็นลักษณะรูปส้อม หรือถ้าปรากฏก็จะจาง ๆ ขนรอบดวงตาเป็นสีเข้ม ผิวหนังที่ขาทั้ง 4 ข้าง ซีด

พบกระจายพันธุ์ตั้งแต่เอเชียใต้จนถึงภูมิภาคอินโดจีน แต่ตามกฏหมายในประเทศไทย ยังไม่จัดเป็นสัตว์ป่าคุ้มครองตามกฏหมาย[5]

อ้างอิง

  1. Groves 2005, pp. 122–123.
  2. จาก IUCN
  3. Groves 2005, p. 122.
  4. Groves 2001, p. 99.
  5. การจำแนกลิงลมหรือนางอายในประเทศไทย

แหล่งข้อมูลอื่น

  ข้อมูลที่เกี่ยวข้องกับ Nycticebus bengalensis ที่วิกิสปีชีส์