ผลต่างระหว่างรุ่นของ "อ"

เนื้อหาที่ลบ เนื้อหาที่เพิ่ม
พีรวิชญ์ 2010 (คุย | ส่วนร่วม)
ไม่มีความย่อการแก้ไข
Octahedron80 (คุย | ส่วนร่วม)
เก็บกวาด
บรรทัด 7:
โดยทั่วไปเรามักจัดให้ อ เป็นเสียงนำสระ แต่ในทาง[[ภาษาศาสตร์]] ถือว่า อ นั้น เป็นพยัญชนะปิดหรือหยุด ฐานเสียงเกิดที่ลำคอ (ใช้[[สัทอักษร]] /{{IPA-Text|ʔ}}/ คล้าย[[เครื่องหมายคำถาม]] แต่ไม่มีจุดข้างล่าง) เมื่อพิจารณาจากรูปเขียนจะเข้าใจได้ยาก ในที่นี้จึงขอยกมาเป็น 2 กรณี คือ กรณีเป็นพยัญชนะต้น และเป็นพยัญชนะตัวสะกด
 
== การประสมรูป ==
==พยัญชนะต้น==
{| class="wikitable"
เมื่อเป็นพยัญชนะต้น “อ” จะถูกใช้เป็นทุ่นเกาะสำหรับสระ เช่น อาหาร, อีก อุ่น ฯลฯ ในทางภาษาศาสตร์ ถือว่า อ เป็นพยัญชนะ ที่ประสมด้วย สระ (ในที่นี้ คือ สระอา และสระอี ตามลำดับ)
|-
! การประสมรูป !! ปรากฏ || ใช้เป็นสระ || สัทอักษรสากล
|-
| (พยัญชนะต้น) + ตัวออ || –อ || ออ || {{IPA|/ɔː/}}
|-
| (พยัญชนะต้น) + ไม้ไต่คู้ + ตัวออ + (พยัญชนะสะกด) || –็อ– || เอาะ (มีตัวสะกด) || {{IPA|/ɔ/}}
|-
| (พยัญชนะต้น) + พินทุ์อิ + ฟันหนู + ตัวออ || –ือ || อื (ไม่มีตัวสะกด) || {{IPA|/ɯː/}}
|-
| ไม้หน้า + (พยัญชนะต้น) + ตัวออ || เ–อ || เออ || {{IPA|/ɤː/}}
|-
| ไม้หน้า + (พยัญชนะต้น) + ตัวออ + วิสรรชนีย์ || เ–อะ || เออะ (ไม่มีตัวสะกด) || {{IPA|/ɤ/}}
|-
| ไม้หน้า + (พยัญชนะต้น) + สระ "อื" + ตัวออ || เ–ือ || เอือ || {{IPA|/ɯaː/}}
|-
| ไม้หน้า + (พยัญชนะต้น) + สระ "อื" + ตัวออ + วิสรรชนีย์ || เ–ือะ || เอือะ || {{IPA|/ɯaʔ/}}
|}
 
== พยัญชนะต้น ==
ในตำแหน่งพยัญชนะต้น เสียง อ ที่เป็นพยัญชนะหยุด อาจหายไป เหลือแต่เสียงสระ ก็ได้ นั่นคือ /{{IPA-Text|ʔ}}a:-ha:n/ เ /a:-ha:n/ ซึ่งในตัวอย่างที่ยกมาจะสังเกตได้ยาก แต่จะเห็นได้ชัดเจน เมื่อมี[[พยางค์]]อื่นนำหน้าเสียง อ เช่น “คุณอา” (/khun-{{IPA-Text|ʔ}}a:/ ไม่ใช่ /khuna:/) เสียงพยัญชนะ “น” ของพยางค์หน้า ไม่ถูกกลมกลืนเสียง (assimilate) ด้วยสระอา ในพยางค์หลัง เพราะมีเสียง “อ” คั่นอยู่ แต่ในภาษาอื่น อาจกลืนเสียงเป็น “คุณนา” ได้ เช่น ในคำว่า บางปะอิน เมื่อเขียนด้วย[[อักษรโรมัน]]จึงมักจะมีขีดแยกคำ Bang Pa-in เพื่อไม่ให้เสียง อะ กับ อิ กลมกลืนเป็น[[สระประสม]]ตามลักษณะการประสมคำในภาษาอื่นที่เขียนด้วยอักษรโรมัน
เมื่อเป็นพยัญชนะต้น “อ” จะถูกใช้เป็นทุ่นเกาะสำหรับสระ เช่น อาหาร, อีก อุ่น ฯลฯ ในทางภาษาศาสตร์ ถือว่า อ เป็นพยัญชนะ ที่ประสมด้วย สระ (ในที่นี้ คือ สระอา และสระอี ตามลำดับ)
 
ในตำแหน่งพยัญชนะต้น เสียง อ ที่เป็นพยัญชนะหยุด อาจหายไป เหลือแต่เสียงสระ ก็ได้ นั่นคือ /{{IPA-Text|ʔ}}a:-ha:n/ เ /a:-ha:n/ ซึ่งในตัวอย่างที่ยกมาจะสังเกตได้ยาก แต่จะเห็นได้ชัดเจน เมื่อมี[[พยางค์]]อื่นนำหน้าเสียง อ เช่น “คุณอา” (/khun-{{IPA-Text|ʔ}}a:/ ไม่ใช่ /khuna:/) เสียงพยัญชนะ “น” ของพยางค์หน้า ไม่ถูกกลมกลืนเสียง (assimilate) ด้วยสระอา ในพยางค์หลัง เพราะมีเสียง “อ” คั่นอยู่ แต่ในภาษาอื่น อาจกลืนเสียงเป็น “คุณนา” ได้ เช่น ในคำว่า บางปะอิน เมื่อเขียนด้วย[[อักษรโรมัน]]จึงมักจะมีขีดแยกคำ Bang Pa-in เพื่อไม่ให้เสียง อะ กับ อิ กลมกลืนเป็น[[สระประสม]]ตามลักษณะการประสมคำในภาษาอื่นที่เขียนด้วยอักษรโรมัน
==ตัวสะกด==
เมื่อเป็นพยัญชนะตัวสะกด จะไม่ปรากฏรูป อ ให้เห็น แต่สังเกตได้จากพยางค์ที่ประสมด้วยสระเสียงสั้น ไม่มีรูปพยัญชนะตัวสะกด เช่น กะ จะ ปะ บิ เกาะ จุ เมื่อต้องทับศัพท์เสียงเหล่านี้ด้วยอักษรแบบอื่น ที่ไม่มีเสียง “อ” จึงมักจะใช้เสียง ห (ซึ่งมีคุณลักษณะของเสียงที่ใกล้เคียงกัน) ปิดท้ายแทน เช่น เมื่อเขียนด้วยอักษรโรมัน kah, pah
 
== ตัวสะกด ==
อย่างไรก็ตาม ในคำที่มีหลายพยางค์ เสียง “อ” ที่เป็นพยัญชนะตัวสะกด อาจหายไป เมื่อพยางค์นั้นไม่เน้น เช่น
เมื่อเป็นพยัญชนะตัวสะกด จะไม่ปรากฏรูป อ ให้เห็น แต่สังเกตได้จากพยางค์ที่ประสมด้วยสระเสียงสั้น ไม่มีรูปพยัญชนะตัวสะกด เช่น กะ จะ ปะ บิ เกาะ จุ เมื่อต้องทับศัพท์เสียงเหล่านี้ด้วยอักษรแบบอื่น ที่ไม่มีเสียง “อ” จึงมักจะใช้เสียง ห (ซึ่งมีคุณลักษณะของเสียงที่ใกล้เคียงกัน) ปิดท้ายแทน เช่น เมื่อเขียนด้วยอักษรโรมัน kah, pah
 
อย่างไรก็ตาม ในคำที่มีหลายพยางค์ เสียง “อ” ที่เป็นพยัญชนะตัวสะกด อาจหายไป เมื่อพยางค์นั้นไม่เน้น เช่น
กุมารี อาจออกเสียงเป็น /ku{{IPA-Text|ʔ}}-ma:-ri:/ หรือ /ku-ma:-ri:/,
 
กุมารี อาจออกเสียงเป็น /ku{{IPA-Text|ʔ}}-ma:-ri:/ หรือ /ku-ma:-ri:/,
อารยธรรม อาจปรากฏเสียงอ สะกด ที่ ยะ แต่ไม่ปรากฏที่ ระ เพราะคำนี้เมื่อออกเสียงมักจะเน้นเสียงที่ ยะ ขณะที่ ระ นั้นออกเสียงเบากว่า ส่วนคำว่า พลังงาน เสียง “พะ” เบาจนเป็นเสียงสามัญ (ไม่ใช่เสียงตรี อย่างรูปปรากฏ) มักจะไม่ออกเสียง “อ” ที่เป็นตัวสะกด
 
อารยธรรม อาจปรากฏเสียงอ สะกด ที่ ยะ แต่ไม่ปรากฏที่ ระ เพราะคำนี้เมื่อออกเสียงมักจะเน้นเสียงที่ ยะ ขณะที่ ระ นั้นออกเสียงเบากว่า ส่วนคำว่า พลังงาน เสียง “พะ” เบาจนเป็นเสียงสามัญ (ไม่ใช่เสียงตรี อย่างรูปปรากฏ) มักจะไม่ออกเสียง “อ” ที่เป็นตัวสะกด
สำหรับในตำแหน่ง อ ท้ายคำ มักจะปรากฏเสียงหยุดชัดเจน เช่น สาธุ, กุฏิ, ธรรมะ, กะปิ, กระทะ, ชนะ
 
สำหรับในตำแหน่ง อ ท้ายคำ มักจะปรากฏเสียงหยุดชัดเจน เช่น สาธุ, กุฏิ, ธรรมะ, กะปิ, กระทะ, ชนะ
 
เสียง อ นี้นับเป็นเสียงพิเศษ ที่พบได้ในบางภาษาเท่านั้น เช่น [[ภาษาดิเวฮิ]] ([[อักษรทานะ]]) เมื่อเทียบเสียงกับภาษาอื่น มักจะเทียบเป็นเสียงสระบ้าง เสียง /ห/ บ้าง ซึ่งมีความใกล้เคียง แต่ไม่ตรงกันเสียทีเดียว
เข้าถึงจาก "https://th.wikipedia.org/wiki/อ"