ผลต่างระหว่างรุ่นของ "ศาสตราจารย์"

เนื้อหาที่ลบ เนื้อหาที่เพิ่ม
บรรทัด 21:
ในประเทศไทยยังมีผู้เข้าใจว่า'''ศาสตราจารย์เกียรติคุณ หรือ ศาสตราจารย์กิตติคุณ''' เป็นผู้ที่ได้รับการแต่งตั้งผู้ทรงคุณวุฒิจากบุคคลภายนอกทั่วไปเพื่อเป็นเกียรติเท่านั้น โดยไม่ต้องเป็นศาสตราจารย์มาก่อนซึ่งเป็นความเข้าใจที่คลาดเคลื่อน
 
===ตำแหน่งศาตราจารย์ศาสตราจารย์ที่แต่งตั้งโดยวิธีอื่น===
มหาวิทยาลัยอาจแต่งตั้งบุคคลภายในหรือภายนอกมหาวิทยาลัยที่มีความเชี่ยวชาญยิ่งในสาขาวิชาที่เป็นผู้นำและเป็นตัวอย่างที่ดีของนักวิชาการชั้นเยี่ยม มีมาตรฐานสูงทางคุณธรรม จริยธรรม และมีความซื่อตรงต่อวิชาชีพ ยอมรับความคิดเห็นของผู้อื่น โดยมหาวิทยาลัยกำหนดขอบเขตความรับผิดชอบและระยะเวลาในการดำรงตำแหน่งและรับเงินเดือนหรือเงินตอบแทนจากทุนต่าง ๆ ที่ตั้งขึ้นเพื่อให้ปฏิบัติภารกิจที่เป็นงานทางวิชาการ โดย
 
บรรทัด 40:
การตั้งศาสตราจารย์[[กิตติมศักดิ์]]จากผู้ไม่มีความรู้แต่ทำประโยชน์ เช่น บริจาคเงินแก่มหาวิทยาลัย ซึ่งจำนวนศาสตราจารย์กิตติมศักดิ์นั้นมีน้อยมาก หรือเรียกว่า ไม่มี ก็ว่าได้
 
ส่วนใหญ่เมื่อขึ้นชื่อว่าศาสตราจารย์แล้ว จะต้องเป็นผู้มีความรู้ความสามารถในการสอน การวิจัย การทำประโยชน์และการฝึกบัณฑิตเป็นอย่างสูงที่ผ่านการประเมินเฉพาะสาขาวิชานั้นๆ มาแล้วเท่านั้น '''ศาสตราจารย์ที่ไม่ต้องทำผลงานวิจัย''' หมายถึง ผู้ที่แต่งตำราในระดับดีมากหลายเล่มเพียงแต่ขณะขอรับการพิจารณาไม่มีงานวิจัยมากพอ โดยทั่วไป ถือกันว่าตำราระดับดีมากเป็นหลักฐานที่บ่งบอกถึงความรู้ความสามารถทางวิชาการในระดับเทียบเท่าหรือสูงกว่างานวิจัยได้ในบางกรณี งานวิจัยที่ได้รับการยอมรับว่าดีกว่าตำราระดับดีมาก ได้แก่ งานวิจัยที่ได้รับรางวัลระดับนานาชาติหรือระดับชาติ เช่น [[รางวัลโนเบล]] [[รางวัลนักวิจัยดีเด่นแห่งชาติ]]
 
== จำนวนศาสตราจารย์ในประเทศไทย ==