ผลต่างระหว่างรุ่นของ "วงศ์กบนา"

เนื้อหาที่ลบ เนื้อหาที่เพิ่ม
EmausBot (คุย | ส่วนร่วม)
r2.6.4) (โรบอต แก้ไข: sq:Bretkosa
ไม่มีความย่อการแก้ไข
บรรทัด 1:
{{Taxobox
{{ความหมายอื่น}}
| name =
{{Taxobox
| image = Pyxicephalus adspersus, Boston Aquarium.jpg
| name = กบ
| image_caption = [[กบแอฟริกันบูลฟร็อก]] (''Pyxicephalus adspersus'') พบใน[[ทวีปแอฟริกา]] จัดเป็นกบที่มีขนาดใหญ่ที่สุดชนิดหนึ่งในวงศ์นี้
| image = Groene kikker op bankirai.jpg
| image_width = 250px
| regnum = [[Animal]]ia
| phylum = [[Chordate|Chordata]]
| classis = [[Amphibian|Amphibia]]
| ordo = [[Anura]]
| familia = '''[[Ranidae]]'''
| familia_authority = [[Constantine Samuel Rafinesque|Rafinesque]], [[ค.ศ. 1814|1814]]
| subdivision_ranks = Suborders
| subdivision_ranks = [[วงศ์ (ชีววิทยา)|วงศ์ย่อย]]และ[[genus|สกุล]]
}}
| subdivision =<center>ดูในเนื้อหา</center>
 
| synonyms =
'''กบ''' เป็น[[สัตว์]]สี่เท้าจำพวกสะเทินน้ำสะเทินบก หรือเรียกได้อีกชื่อหนึ่งว่า[[สัตว์ครึ่งบกครึ่งน้ำ]] กบจัดอยู่ใน[[วงศ์รานิดี]] (''Ranidae'') [[สกุลรานา]] (''Rana'') ผิวหนังขรุขระ ไม่มีขนและเกล็ด ที่บริเวณ[[ผิวหนัง]]ของกบจะมีต่อมเมือกและน้ำใสๆ เพื่อช่วยให้ผิวหนังของกบนั้น มีความชุ่มชื่นอยู่เสมอ กบไม่มี[[คอ]]และ[[หาง]]ซึ่งเป็นประโยชน์ต่อการว่ายน้ำ มีขา 2 คู่ ขาด้านหน้ามีขนาดเล็กและสั้น มีนิ้วเท้าสี่นิ้วที่สามารถมองเห็นได้อย่างชัดเจน โดยนิ้วที่หนึ่งหรือนิ้วหัวแม่มือ มีลักษณะเป็นตุ่มขนาดเล็ก ขาคู่หลังมีมัด[[กล้ามเนื้อ]]ที่มีความแข็งแรง คอยประคองและค้ำจุนให้กบสามารถกระโดดไปด้านหน้าได้อย่างรวดเร็ว มี[[ข้อเท้า]]ขนาดยาวช่วยในการกระโดด ระหว่างนิ้วเท้าทั้งห้าของขาคู่หน้าและหลัง มีหนังบางๆ เป็นแผ่นๆ ยึดติดกันใช้สำหรับว่ายน้ำ
*Ceratobatrachidae<br />
*Dicroglossidae<br />
*Micrixalidae<br />
*Nyctibatrachidae<br />
*Ptychadenidae<br />
*Ranixalidae<br />
 
}}
== ลักษณะทั่วไป ==
 
'''วงศ์กบนา''' หรือ '''วงศ์กบแท้''' ({{lang-en|True frog}}; [[วงศ์ (ชีววิทยา)|วงศ์]]: Ranidae) เป็น[[วงศ์ (ชีววิทยา)|วงศ์]]ของ[[สัตว์ครึ่งบกครึ่งน้ำ]]ใน[[อันดับกบ]] (Anura) วงศ์หนึ่ง ใช้[[ชื่อวิทยาศาสตร์]]ว่า Ranidae
กบเป็นสัตว์ครึ่งบกครึ่งน้ำ อาศัยอยู่ในบริเวณแหล่ง[[น้ำ]]ตื้นๆ หรือแอ่งน้ำเล็กๆ มีหัวลักษณะคล้ายรูปทรง[[สามเหลี่ยม]] มีสัณฐานค่อนข้างแบนเรียบ [[ปาก]]กว้าง นัยน์ตากลมโตและโปนโดยบริเวณหนังตามีแผ่นเนื้อเยื่อบางๆ ซึ่งจะทำหน้าที่เปิดและปิดนัยน์ตาดำของกบ มี[[หู]]อยู่บริเวณด้านหลังของนัยน์ตาที่มีลักษณะเป็นแอ่งกลมๆ ทำหน้าที่เหมือนกับ[[แก้วหู]]ของ[[มนุษย์]] มีรู[[จมูก]]สองรูอยู่ด้านหน้าของนัยน์ตา ภายในปากมีฟันขนาดไล่เลี่ยกันคล้ายกับซี่[[เลื่อย]] [[ลิ้น]]มีปลายแยกออกเป็นสองแฉก ใช้สำหรับจับ[[แมลง]]และสัตว์อื่นเป็นอาหาร หายใจโดยใช้[[ปอด]]และสามารถหายใจได้ทางผิวหนัง มีการพบกบบางชนิดในอินโดนีเซียไม่มีปอด หายใจโดยผิวหนังอย่างเดียว <ref>http://news.yahoo.com/s/ap/20080410/ap_on_fe_st/indonesia_lungless_frog</ref>
 
กบในวงศ์นี้มีลักษณะโดยรวม คือ มี[[กระดูกสันหลัง]]หน้ากระดูก[[ก้นกบ]] 8 ปล้อง กระดูกสันหลังมีเซนทรัมเป็นแบบอย่างของโพรซีลัสหรือเป็นแบบอย่างของไดพลาสิโอซีลัส กระดูกหัวไหล่เป็นแบบอย่างของเฟอร์มิสเทอร์นัล กระดูกแอสทรากาลัสและกระดูกแลคาเนียมเชื่อมรวมกันเฉพาะส่วนต้นและส่วนปลาย ไม่มีกระดูกแทรกระหว่างกระดูกนิ้ว 2 ชิ้นสุดท้าย กระดูกนิ้วชิ้นสุดท้ายมีส่วนปลายนิ้วเรียวยาวหรือเป็นรูปตัว [[T]] ลูกอ๊อดมีช่องจะงอยปากและมี[[ฟัน]] ช่องเปิดของเหงือกมีช่องเดียวอยู่ทางด้านข้างของด้านซ้ายลำตัว
ในช่วงฤดูแล้ง กบโดยทั่วไปจะอยู่แต่ในรูและไม่ออกหาอาหารชั่วคราว ภาวะนี้มักเรียกว่า "กบจำศีล"
 
มีขนาดและรูปร่างแตกต่างกันมาก โดยชนิดที่ใหญ่ที่สุดในวงศ์นี้คือ [[Conrana goliath|กบโกไลแอท]] (''Conrana goliath'') ที่พบใน[[ทวีปแอฟริกา]]ที่มีความยาวเต็มที่ประมาณ 30 [[เซนติเมตร]] ขณะที่บางชนิด บางสกุลมีลำตัวอ้วนป้อมและอาศัยอยู่ในโพรงดิน บางชนิดอาศัยอยู่ใน[[ลำธาร]]ที่กระแสน้ำไหลแรงและ[[ว่ายน้ำ]]ได้ดีมาก ก็มีด้วยกันหลายชนิด ในหลายสกุล
กบกลายเป็นที่นิยมบริโภคกันมากในปัจจุบัน เนื่องจากเนื้อกบมี[[โปรตีน]]ที่มีคุณค่าทางอาหารสูง ทุกส่วนของ[[ร่างกาย]]สามารถนำไปทำประโยชน์ได้หลากหลายชนิด เช่น หนังกบสามารถนำไปทำกระเป๋า [[รองเท้า]] เครื่องดนตรี และของชำร่วยต่างๆ ส่วนหัว อวัยวะระบบทางเดินอาหารและ[[กระดูก]]ที่ตัดชำแหละแล้ว นำไปใช้เป็นอาหารเลี้ยงสัตว์ได้ ปัจจุบันกบได้กลายเป็นสัตว์เลี้ยงในการเกษตรของเกษตรกร
 
==การอนุกรมวิธาน==
== ลักษณะทางกายวิภาค ==
แบ่งออกเป็น 7 วงศ์ย่อย ประมาณ 52 [[genus|สกุล]] พบทั้งสิ้นประมาณ 785 [[สปีชีส์|ชนิด]] ได้แก่
กบ เป็นสัตว์ที่มีไข่แดงปานกลาง ใช้เวลาประมาณ 6 วันหลังจากการปฏิสนธิ เอมบริโอจะเจริญเป็นลูกอ๊อด (tadpole) และสามารถหาอาหารกินเองได้พวกเอมบริโอที่เจริญนอกตัวแม่ จะมีส่วนที่ช่วยป้องกันอันตราย เช่น ไข่ไก่มีเปลือกแข็งหุ้ม ไข่กบมีวุ้นหุ้ม
 
'''วงศ์ย่อย'''
== ตลาดต่างประเทศ ==
*[[Dicroglossinae]]
ได้มีบริษัทเอกชนรวบรวมซื้อกบจากแหล่งต่างๆเพื่อส่งไปจำหน่ายต่างประเทศ ตลาดส่งออกที่สำคัญของไทย คือ ฮ่องกง นำเข้ากบประมาณร้อยละ 99.6 ของมูลค่าส่งออกกบของไทย ส่วนประเทศที่นำเข้าเนื้อกบที่สำคัญของโลกในปัจจุบัน ได้แก่ สหรัฐอเมริกา ฝรั่งเศส เนเธอร์แลนด์ เบลเยี่ยม สหรัฐอาหรับเอมิเรต และเยอรมันตะวันตก การส่งออกจะทำทั้งในสภาพกบที่ยังมีชีวิตที่มีขนาดน้ำหนักตัวประมาณ 200 - 300 กรัม และในรูปของขาหลังกบแช่แข็งที่มีขนาดน้ำหนัก 25 - 30 เปอร์เซ็นต์ของน้ำหนักตัวทั้งหมด ส่วนหนังกบก็มีการส่งออกด้วยเช่นกัน ประโยชน์ทางตรงของการเลี้ยงกบ
*[[Petropedetinae]] (พบในแอฟริกา)
*[[Ptychadeninae]] (พบในแอฟริกา)
*[[Pyxicephalinae]]
*[[Raninae]] (พบทั่วโลกยกเว้น[[ออสเตรเลีย]]และ[[อเมริกาใต้]])
*[[Ranixalinae]] (พบในอินเดีย)
*[[Tomopterinae]]
 
'''สกุล'''
* เป็นอุปกรณ์ทางการศึกษาทางการแพทย์ การวิจัย ทางชีววิทยา และการทดลองทางวิทยาศาสตร์
* ''[[Afrana]]''
* ให้ความเพลิดเพลิน
* ''[[Allopaa]]'' <small>Ohler & Dubois, 2006</small>
* เป็นอาหารและเพิ่มพูนรายได้ให้กับครอบครัวและประเทศชาติ
* ''[[Amietia]]''
* ใช้ประโยชน์จากหนังและอวัยวะอื่นๆ
* ''[[Amolops]]''
* ''[[Anhydrophryne]]''
* ''[[Arthroleptella]]''
* ''[[Arthroleptides]]''
* ''[[Aubria]]''
* ''[[Babina (frog)|Babina]]'' (บางครั้งใช้เป็น ''Rana'')<!-- MolPhylEvol46:49 -->
* ''[[Batrachylodes]]''
* ''[[Cacosternum]]''
* ''[[Ceratobatrachus]]''
* ''[[Chaparana]]''
* ''[[Chrysopaa]]'' <small>Ohler & Dubois, 2006</small>
* ''[[Clinotarsus]]'' <small>Mivart, 1869</small> (อดีตเคยใช้ ''Rana'' รวมถึง ''Nasirana'')<!-- MolPhylEvol46:49 -->
* ''[[Conraua]]''
* ''[[Dimorphognathus]]''
* ''[[Discodeles]]''
* ''[[Ericabatrachus]]''
* ''[[Euphlyctis]]''
* ''[[Fejervarya]]'' (อดีตเคยใช้ ''Rana'')
* ''[[Fagayman]]''
* ''[[Glandirana]]'' (อดีตเคยใช้ ''Rana'')<!-- MolPhylEvol46:49 -->
* ''[[Hildebrandtia (animal)|Hildebrandtia]]''
* ''[[Hoplobatrachus]]''
* ''[[Huia (genus)|Huia]]''
* ''[[Hylarana]]'' <small>Tschudi, 1838</small> (อดีตเคยใช้ ''Rana'')<!-- MolPhylEvol46:49 -->
* ''[[Indirana]]''
* ''[[Ingerana]]''
* ''[[Lankanectes]]''
* ''[[Lanzarana]]''
* ''[[Limnonectes]]''
* ''[[Meristogenys]]'' (อาจจะเป็นสกุลเดียวกันกับ ''Huia'')
* ''[[Micrixalus]]''
* ''[[Microbatrachella]]''
* ''[[Minervarya]]''
* ''[[Nannophrys]]''
* ''[[Nanorana]]''
* ''[[Natalobatrachus]]''
* ''[[Nothophryne]]''
* ''[[Nyctibatrachus]]''
* ''[[Occidozyga]]''
* ''[[Odorrana]]'' (อดีตเคยใช้ ''Rana'')
* ''[[Paa]]''
* ''[[Palmatorappia]]''
* ''[[Pelophylax]]'' <small>Fitzinger 1843</small> (อดีตเคยใช้ ''Rana'')<!-- MolPhylEvol46:49 -->
* ''[[Petropedetes]]''
* ''[[Phrynobatrachus]]''
* ''[[Phrynodon]]''
* ''[[Platymantis]]''
* ''[[Pseudoamolops]]''
* ''[[Poyntonia]]''
* ''[[Pterorana]]''
* ''[[Ptychadena]]''
* ''[[Pyxicephalus]]''
* ''[[Rana (genus)|Rana]]''
* ''[[Sanguirana]]'' (อดีตเคยใช้ ''Rana'')<!-- MolPhylEvol46:49 -->
* ''[[Sphaerotheca (frog)|Sphaerotheca]]''
* ''[[Staurois]]''
* ''[[Strongylopus]]''
* ''[[Tomopterna]]''<ref>หน้า 342-345, ''วิทยาสัตว์เลื้อยคลานและสัตว์สะเทินน้ำสะเทินบก'' โดย วีรยุทธ์ เลาหะจินดา ([[พ.ศ. 2552]]) ISBN 978-616-556-016-0</ref>
 
==อ้างอิง==
== ประโยชน์ทางอ้อม ==
* ได้ประโยชน์จากระบบนิเวศวิทยา โดยช่วยทำลายแมลง ศัตรูพืช ยุง บุ้ง ฯลฯ
* ใช้กระดูกทำปุ๋ย
 
== กบในประเทศไทย ==
กบที่พบในประเทศไทยมี 38 ชนิด แต่ที่พบทั่วๆไป มีดังนี้ คือ
* [[กบบัว]] มีขนาดเล็กสีน้ำตาลอ่อน ขนาดโตเต็มที่ยาวประมาณ 2 นิ้ว น้ำหนัก ตัวประมาณ 30 ตัว ต่อหนึ่งกิโลกรัม
* [[กบนา]] มีขนาดกลาง สีน้ำตาลปนดำ ขนาดโตเต็มที่ยาวประมาณ 4 นิ้ว น้ำหนักประมาณ 6 ตัว ต่อหนึ่งกิโลกรัม
* [[กบจาน]] มีขนาดใหญ่ สีน้ำตาลปนเขียว ขนาดโตเต็มที่ยาวประมาณ 5 นิ้ว น้ำหนักประมาณ 4 ตัว ต่อหนึ่งกิโลกรัม
* [[กบภูเขา]] หรือ [[เขียดแลว]] เป็นกบที่มีขนาดใหญ่เป็นอันดับสองของโลก ชาวบ้านนิยมจับมาบริโภคกันมาก โดยเฉพาะที่แม่ฮ่องสอน กบภูเขาอยู่ใน สภาพธรรมชาติมีปริมาณลดน้อยลงทุกที
(''Rana tigerina'')
 
== เสียงร้องกบ ==
กบมักส่งเสียงร้องยามที่ฝนตก กบในภาษาไทยร้องว่า "โอ๊บ โอ๊บ" ภาษาเกาหลีร้องว่า "แค-กรู-แค-กรู" <ref>http://www.elearneasy.com/shows_news.php?news_id=3176</ref> ภาษาจีน ร้องว่า "กวา กวา"<ref>http://youjiao.eduu.com/e/20090702/4b8bcbf264675.shtml</ref>
 
ภาษาอิตาลี ร้องว่า กา กา
 
== อ้างอิง ==
{{รายการอ้างอิง}}
 
== แหล่งข้อมูลอื่น ==
{{wikispecies|AnuraRanidae}}
*[http://www.amphibia.my/page.php?pageid=Browse%20Species%20Guide&family=Ranidae%20(True%20Frogs) Amphibian and Frogs of Peninsular Malaysia - Family Ranidae {{en}}]
{{คอมมอนส์|Frog}}
 
[[หมวดหมู่:สัตว์มีแกนสันหลัง]]
[[หมวดหมู่:สัตว์สะเทินน้ำสะเทินบก]]
[[หมวดหมู่:กบ| ]]
 
{{Link FA|en}}
{{Link FA|he}}
{{Link FA|id}}
 
{{Link FA|ca}}
{{Link FA|nl}}
 
[[หมวดหมู่:กบ]]
[[ace:Cangguk]]
[[afast:PaddaXaronca]]
[[amay:ጓጉንቸርK'ayra]]
[[be:Звычайныя жабы]]
[[an:Anura]]
[[be-x-old:Звычайныя жабы]]
[[ar:ضفدع]]
[[bg:Водни жаби (семейство)]]
[[az:Quyruqsuzlar]]
[[ca:Rànid]]
[[be:Бясхвостыя земнаводныя]]
[[da:Frøer]]
[[be-x-old:Бясхвостыя]]
[[de:Echte Frösche (Familie)]]
[[bg:Безопашати земноводни]]
[[bnet:ব্যাঙKonlased]]
[[bres:AnuraRanidae]]
[[bsen:ŽabaRanidae]]
[[cafr:AnurRanidae]]
[[cehy:Ph́idԳորտեր]]
[[chris:ᏩᎶᏏFroskaætt]]
[[csit:ŽábyRanidae]]
[[cyhe:Llyffantצפרדעיים]]
[[ka:ბაყაყისებრნი]]
[[da:Frøer og tudser]]
[[delt:FroschlurcheVarlės]]
[[elli:ΒάτραχοςEchte kwakkers]]
[[hu:Valódi békafélék]]
[[en:Frog]]
[[eonl:AnuroEchte kikkers]]
[[ja:アカガエル科]]
[[es:Anura]]
[[etfrr:PäriskonnalisedHobelfasker]]
[[euno:AnuraEkte frosker]]
[[fapl:قورباغهŻabowate]]
[[fipt:SammakotRanidae]]
[[ru:Настоящие лягушки]]
[[fr:Anoures]]
[[sc:Rana]]
[[frr:Hobelfasker an poden]]
[[sl:Prave žabe (družina)]]
[[ga:Frog]]
[[ganfi:蝦蟆Aitosammakot]]
[[glsv:AnuroÄkta grodor]]
[[glkzh:شوبوک蛙科]]
[[gv:Rannag]]
[[hak:Kúai-é]]
[[he:חסרי זנב]]
[[hi:मेंढक]]
[[hif:Medhak]]
[[hr:Žabe]]
[[ht:Krapo]]
[[hu:Békák]]
[[id:Kodok dan katak]]
[[is:Froskar]]
[[it:Anura]]
[[iu:ᓈᕌᔩᖅ]]
[[ja:カエル]]
[[jv:Kodhok]]
[[ka:ბაყაყი]]
[[kk:Құйрықсыз қосмекенділер]]
[[ko:개구리목]]
[[ku:Beq]]
[[la:Anura]]
[[li:Kwakkers en króddele]]
[[lt:Beuodegiai varliagyviai]]
[[lv:Bezastainie abinieki]]
[[mdf:Ватракш]]
[[mk:Жаба]]
[[ml:തവള]]
[[mn:Мэлхий]]
[[mr:बेडूक]]
[[ms:Katak]]
[[my:ဖား]]
[[mzn:وک]]
[[nds-nl:Kikvors]]
[[ne:भ्यागुतो]]
[[nl:Kikkers]]
[[nn:Halelause padder]]
[[no:Springpadder]]
[[nrm:Raînotte]]
[[nso:Segwagwa]]
[[nv:Chʼał]]
[[oc:Anura]]
[[pdc:Frosch]]
[[pl:Żaba]]
[[pnb:ڈڈو]]
[[pt:Anura]]
[[qu:K'ayra]]
[[ro:Broască]]
[[roa-tara:Marajòttole]]
[[ru:Бесхвостые]]
[[rue:Жаба]]
[[sah:Баҕа]]
[[sco:Frog]]
[[sh:Žaba]]
[[simple:Frog]]
[[sk:Žabotvaré]]
[[sl:Žabe]]
[[sn:Datya]]
[[sq:Bretkosa]]
[[sr:Жабе]]
[[su:Bangkong]]
[[sv:Stjärtlösa groddjur]]
[[sw:Chura]]
[[ta:தவளை]]
[[te:కప్ప]]
[[tg:Қурбоққа]]
[[tl:Palaka]]
[[tr:Kuyruksuz kurbağalar]]
[[uk:Безхвості]]
[[ur:مینڈک]]
[[vi:Bộ Không đuôi]]
[[vls:Puut]]
[[wa:Rinne (biesse)]]
[[war:Pakla]]
[[wuu:田鸡]]
[[yi:זשאבע]]
[[yo:Kọ̀nkọ̀]]
[[zea:Puut'n]]
[[zh:无尾目]]
[[zh-min-nan:Chúi-ke]]
[[zh-yue:蛙]]