ผลต่างระหว่างรุ่นของ "ตระกูลภาษาจีน-ทิเบต"

เนื้อหาที่ลบ เนื้อหาที่เพิ่ม
Jungide (คุย | ส่วนร่วม)
ย้อนการแก้ไขที่ 3898947 สร้างโดย 49.48.228.14 (พูดคุย)
บรรทัด 26:
* ภาษากลุ่มอื่นๆที่เป็นกลุ่มหลักของตระกูลภาษาย่อยทิเบต-พม่าเดิม เช่น ภาษาเนวารี ภาษาเกวียง ภาษานุง ภาษามาคัร
การจัดแบ่งแบบนี้เรียกสมมติฐานจีน-ทิเบต โดยถือว่าภาษาจีนและภาษาทิเบตมีความใกล้เคียงกัน
นางสาวภาคภูมิไอจมูกอับปรีนายภาคภูมิ พ่อมึงตายโคตรพ่อของไอภาคภูมิ999ล้านล้านล้านล้านล้านล้านล้านล้านล้านล้านโคตรพ่อของไอภาคภูมิไอนักอ่านข่าวหน้าเหี้ยไส่แว่นตาอยู่ช่อง9ทุกเช้าเสาร์อาทิศไอเหี้ยภาคภูมิ พ่อมึงตาย
 
== สมมติฐานจีน-ทิเบต ==
เหตุผลที่จัดภาษาจีนเข้าเป็นกลุ่มย่อยของตระกูลภาษาย่อยทิเบต-พม่า เพราะมีความสัมพันธ์กันระหว่างภาษาจีนกับภาษาทิเบต เช่นลักษณะคู่ขนานระหว่างภาษาจีนโบราณกับภาษาทิเบตสมัยใหม่ และมีรากศัพท์ที่คล้ายคลึงกัน อย่างไรก็ตามสมมติฐานนี้มีข้อโต้แย้งคือ ความชัดเจนของรากศัพท์ที่คล้ายคลึงกันระหว่างภาษาจีนกับภาษากลุ่มทิเบตยังไม่ชัดเจนพอ และจากการสร้างภาษาทิเบต-พม่าดั้งเดิมโดยใช้ข้อมูลจากวรรณคดีภาษาทิเบตและพม่า และข้อมูลจากภาษาจิ่งโปและภาษาไมโซ พบว่าภาษาจีนมีลักษณะที่จะเป็นภาษาลุกหลานของภาษาทิเบต-พม่าดั้งเดิมน้อย สมมติฐานนี้จึงยังไม่ได้รับการยอมรับอย่างแพร่หลาย