ผลต่างระหว่างรุ่นของ "คัง โหย่วเหวย์"

เนื้อหาที่ลบ เนื้อหาที่เพิ่ม
ไม่มีความย่อการแก้ไข
Setawut (คุย | ส่วนร่วม)
ไม่มีความย่อการแก้ไข
บรรทัด 1:
{{Infobox person
[[ภาพ:Kang Youwei circa 1920.jpg|thumb|250px|[[ภาพถ่าย]]คัง โหย่วเหวย ในปี [[ค.ศ. 1920]]]]
|image= Kangnanhai.jpg
'''คัง โหย่วเหวย''' ({{lang-en|Kang Youwei}}, [[จีนตัวเต็ม]]: 康有为, [[จีนตัวย่อ]]: 康有為, [[พินอิน]]: Kāng Yǒuwéi) นักคิด, [[นักเขียน]] และนัก[[ปฏิวัติ|ปฏิรูป]]คนสำคัญ[[ชาวจีน]]ในช่วงปลาย[[ราชวงศ์ชิง]]
|birth_date={{birth date|1858|3|19|df=y}}
|birth_place= ตำบลหนานไห่ [[มณฑลกวางตุ้ง]] <br> [[จักรวรรดิชิง]] [[File:China Qing Dynasty Flag 1889.svg|20px]]
|death_date= {{death date and age|1927|3|31|1858|3|19|df=y}}
|death_place= [[ชิงเต่า]] [[มณฑลซานตง]] <br> [[สาธารณรัฐจีน]] {{flagicon|ROC}}
|children=15 คน
|other_names= คัง ซูจี (康祖詒)<br>คัง กังเซี่ย (康廣廈)
}}
 
'''คัง โหย่วเหวย''' ({{lang-en|Kang Youwei}}, [[จีนตัวเต็ม]]: 康有为, [[จีนตัวย่อ]]: 康有為, [[พินอิน]]: Kāng Yǒuwéi) นักคิด, [[นักเขียน]] และนัก[[ปฏิวัติ|ปฏิรูป]]คนสำคัญ[[ชาวจีน]]ในช่วงปลาย[[ราชวงศ์ชิง]]
คัง โหย่วเหวย เกิดเมื่อวันที่ [[19 มีนาคม]] [[ค.ศ. 1853]] ที่เมือง[[Nanhai|หนานไห่]] [[มณฑลกวางตุ้ง]] มีชื่อรองว่า กวางเสีย (康廣廈) สามารถสอบบัณฑิตขั้นจิ้นซื่อได้ จึงได้อีกชื่อหนึ่งว่า คัง หนานไห่ (康南海) เป็นผู้ที่นับถือ[[ลัทธิขงจื๊อ]]
 
== ประวัติ ==
ต่อมาได้รับราชการในเจ้ากรมโยธา ในรัชสมัย[[จักรพรรดิกวางซวี]] และเคยดำรงดำรงตำแหน่งประธานสมาคมการศึกษาขงจื้อ ต่อมาได้เผยแพร่แนวความคิดเรื่องการปฏิรูปการปกครอง ออกสู่วงกว้าง เพื่อให้เกิดเป็นแนวความคิดและต่อมากลายเป็นการเคลื่อนไหวที่สำคัญต่อมาในราชสำนัก โดยองค์จักรพรรดิเองก็มักปรึกษากับคัง โหว่ยเหวยและบุคคลอื่นที่มีแนวความคิดตรงกันในเรื่องนี้เสมอ ซึ่งกลายมาเป็น[[การปฏิรูป 100 วัน]] (戊戌變法)
คัง โหย่วเหวย เกิดเมื่อวันที่ [[19 มีนาคม]] [[ค.ศ. 1853]] ที่เมือง[[Nanhai|ตำบลหนานไห่]] [[มณฑลกวางตุ้ง]] มีชื่อรองว่า กวางเสีย (康廣廈) สามารถสอบบัณฑิตขั้นจิ้นซื่อได้ จึงได้อีกชื่อหนึ่งว่า คัง หนานไห่ (康南海) เป็นผู้ที่นับถือ[[ลัทธิขงจื๊อ]]
 
=== งานการเมือง ===
ต่อมาคัง โหย่วเหวยได้รับราชการในเจ้ากรมโยธา ในรัชสมัย[[จักรพรรดิกวางซวี]] และเคยดำรงดำรงตำแหน่งประธานสมาคมการศึกษาขงจื้อ ต่อมาได้เผยแพร่แนวความคิดเรื่องการปฏิรูปการปกครอง ออกสู่วงกว้าง เพื่อให้เกิดเป็นแนวความคิดและต่อมากลายเป็นการเคลื่อนไหวที่สำคัญต่อมาในราชสำนัก โดยองค์จักรพรรดิเองก็มักปรึกษากับคัง โหว่ยเหวยและบุคคลอื่นที่มีแนวความคิดตรงกันในเรื่องนี้เสมอ ซึ่งกลายมาเป็น[[การปฏิรูป 100 วัน]] (戊戌變法)
 
แต่การปฏิรูปครั้งนี้ไม่สำเร็จ เนื่องจากพระนาง[[ซูสีไทเฮา]] ได้ทำการ[[รัฐประหาร]]ขึ้นในคืนวันที่ [[21 กันยายน]] [[ค.ศ. 1898]] ภายใน[[พระราชวังฤดูร้อนอี๋เหอหยวน]] ซึ่งตรงกับ[[วันไหว้พระจันทร์]]ในปีนั้น และได้ทำการควบคุมองค์จักรพรรดิ ในส่วนของขุนนางและแกนนำการปฏิรูปได้หลบหนีและถูกจับ[[ประหารชีวิต]] 6 คน แต่คัง โหว่ยเหวย และกลุ่มผู้สนับสนุนได้หลบหนีไปยัง[[ประเทศญี่ปุ่น]]ได้สำเร็จ
 
=== วรรณกรรม ===
คัง โหว่ยเหวย มีผลงานการเขียนที่สำคัญ ๆ ได้แก่ ''บทความคังจื่อ'' (康子篇), ''คนรุ่นใหม่วิจารณ์คำภีร์ปลอม'' (新学伪经考), ''การปฏิรูปของจักรพรรดิเมจิ'' (日本明治變政考), ''การปฏิรูปของพระเจ้าปีเตอร์มหาราช'' (俄大彼得變政記) เป็นต้น
 
=== เสียชีวิต ===
คัง โหว่ยเหวย [[เสียชีวิต]]ที่เมือง[[ชิงเต่า]] [[มณฑลชานตง]] เมื่อวันที่ [[31 มีนาคม]] [[ค.ศ. 1927]] สิริอายุได้ 69 ปี ภายหลังจากที่[[ประเทศจีนไต้หวัน]]กลายสภาพเป็น[[สาธารณรัฐจีน]]แล้ว<ref>Jung-pang Lo. K'ang Yu-wei: ''A Biography and a Symposium''. Library of Congress number 66-20911.</ref>
<ref>M. E. Cameron, The Reform Movement in China, 1898–1912 (1931, repr. 1963); biography ed. and tr. by Lo Jung-pang (1967). </ref>
<ref>CHANG HAO: ''Intellectual change and the reform movement'', 1890-1898, in: Twitchett, Denis and Fairbanks, John (ed.): The Cambridge History of China, Vol. 11, Late Ch’ing, 1800–1911, Part 2 (1980). Cambridge: Cambridge University Press, pp. 274–338, esp. 283-300, 318-338. </ref>