ผลต่างระหว่างรุ่นของ "ไดโงฮนซง"

เนื้อหาที่ลบ เนื้อหาที่เพิ่ม
Antelope (คุย | ส่วนร่วม)
ไดโงะฮนซน ถูกเปลี่ยนชื่อเป็น ไดโงะฮนซง
ไม่มีความย่อการแก้ไข
บรรทัด 1:
'''ไดโงะฮนซง''' ({{nihongo|大御本尊||Dai Gohonzon}}) เป็นสิ่งสักการะบูชาสูงสุดของศาสนาพุทธนิกาย[[นิชิเร็งโชชู]]และ[[โซกา งัคไค]] คำว่า "ได" (大) แปลว่า "ยิ่งใหญ่, สูงสุด" ส่วน "โงะฮนซน" (御本尊) หมายถึง สิ่งสักการะ คำว่า "ไดโงะฮนซ" จึงแปลว่า "สิ่งสักการะสูงสุด"
'''ไดโงะฮนซน''' (Dai Gohonzon)คือสิ่งสักการะบูชาสูงสุดและศูนย์รวมจิตใจของศาสนาพุทธนิกาย[[นิชิเรนโชชู]]ที่จารึกสร้างขึ้นโดย[[พระนิชิเรนไดโชนิน]] เมื่อวันที่ [[12 ตุลาคม]] 1279 เป็นการจำลองธรรมสภาในห้วงอวกาศขณะที่พระศากยมุนีพุทธเทศนาพระสัทธรรมปุณฑริกสูตร
 
สานุศิษย์นิกายนิชิเรนโชชูถือว่าไดโงะฮนซนคือการรวมเป็นอันหนึ่งอันเดียวกันของบุคคลและธรรม และคือจุดมุ่งหมายในการมาเกิดของพระนิชิเรนไดโชนิน
ไดโงะฮนซนมีลักษณะเป็นรูป[[มัณฑละ]] (มณฑล) จารึก[[ภาษาจีน]]และ[[ภาษาสันสกฤต]] ซึ่งทำจากไม้[[การบูร]] โดยหลักแล้วมัณฑละดังกล่าวประกอบด้วยนามของ[[พุทธะ]] [[พระโพธิสัตว์]] เทพในพุทธศาสนา และคุรุอาจารย์ต่างๆ ในศาสนาพุทธเป็นจำนวนมาก รายล้อมรอบ[[อักษรคันจิ]] ([[อักษรจีน]]) ที่อยู่ศูนย์กลางมัณฑละ ซึ่งจารึกเป็นคาถาว่า "นัมเมียวโฮเร็งเงเคียวนิชิเร็ง" <ref>http://www.sgi-usa.org/memberresources/resources/gohonzon/diagramofgohonzon.php</ref> ตามประวัติกล่าวว่าโงะฮนซนถูกจารึกขึ้นโดย[[พระนิชิเรนโชนิน]] เมื่อวันที่ [[12 ตุลาคม]] [[ค.ศ. 1279]] เป็นการจำลองธรรมสภาในห้วงอวกาศขณะที่[[พระโคดมพุทธเจ้า]] (ฝ่ายมหายานนิยมเรียกว่า "พระศากยมุนีพุทธะ") แสดงพระธรรมเทศนาเรื่อง[[สัทธรรมปุณฑรีกสูตร]] ปัจจุบันไดโงะฮนซงประดิษฐานอยู่ ณ โฮอันโดะ [[วัดไทเซคิจิ]] [[จังหวัดชิซุโอะกะ]] [[ประเทศญี่ปุ่น]] อันเป็นศูนย์กลางใหญ่ของศาสนาพุทธนิกายนิชิเรนโชชู
ปัจจุบันไดโงะฮนซนประดิษฐานอยู่ ณ โฮอันโดะ วัดใหญ่ไทเซขิจิ จังหวัดชิซูโอกะ ประเทศญี่ปุ่น
 
สานุศิษย์นิกายนิชิเรนโชเร็งโชชูถือว่าไดโงะฮนซนโงะฮนซงคือการรวมเป็นอันหนึ่งอันเดียวกันของบุคคลและธรรม และคือจุดมุ่งหมายในการมาเกิดของพระนิชิเรนไดโชนินนโชนิน
 
== อ้างอิง ==
{{reflist}}
 
[[หมวดหมู่:ประเทศญี่ปุ่น]]